แชร์ไว้เลยของดีใกล้ๆตัว ผักท้องถิ่น รักษาโรคเบาหวานช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด
วันนี้ขอแนะนำ 5 อย่างที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด ค่ะกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ทำการรวบรวมงานศึกษาวิจัยจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทดลองนั้น มาจากประสบการณ์การใช้ของชาวบ้านแล้วนำไปทดลองต่อค่ะ
1. ช้าพลู (Wild Pepper) เป็นสมุนไพรที่เหมาะสำหรับการแนะนำผู้ป่วยเบาหวานเนื่องจากมีฤทธิ์แอนตี้อ๊อกซิแด็นท์สูงมาก ทั้งยังมี ปริมาณแคลเซียม วิตามินเอ วิตามินซี สูงมากชนิดหนึ่ง และไม่ลดน้ำตาลในคนปกติอีกด้วย จึงเหมาะสำหรับนำมาทานเป็นอาหาร เป็นชาหรือยาต้มในคนทั่วไปและผู้ป่วยเบาหวานค่ะ
วิธีใช้ นำช้าพลูทั้งห้า(ทั้งต้นจนถึงราก) 1 กำมือ ต้มกับน้ำ 3 ขัน เคี้ยวให้เหลือ 1 ขัน รับประทานครั้งละ ครึ่งแก้วกาแฟก่อนอาหาร 3 มื้อ สรรพคุณ ช่วยลดน้ำตาลในเลือด
2. มะระขี้นก เอาเนื้อมะระขี้นกผลเล็กซึ่งมีตัวยามากมาผ่าเอาแต่เนื้อหั่นชิ้นเล็กๆ ตากแดดให้แห้งแล้วชงกับน้ำเดือด โดยใช้ชินมะระ 1-2 ชิ้น ต่อน้ำ 1 ถ้วย ดื่มแบบชาครั้งละ 2 ถ้วย วันละ 3 เวลา หรือต้มเอาน้ำมาดื่มก็ได้ หรือ ใส่กระติกน้ำร้อนต้มดื่มแทนน้ำ ไม่เกิน 1 เดือน เห็นผล
ตำรับยา ทำแคปซูล หรือลูกกลอน มะระขี้นก
รับประทานมะระขี้นก 500-1000 มก. วันละ 1-2 ครั้ง
ข้อควรระวัง คนท้อง เด็ก คนที่ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำไม่ควรรับประทานค่ะ
3. เตยหอม
วิธีใช้
นำรากเตยหอมประมาณ 1 ขีด สับเป็นท่อนเล็กๆ ต้มกับน้ำ 1 ลิตร ต้มเดือด จากนั้นเคี่ยวต่อประมาณ 15-20 นาที นำยาที่ได้ดื่มครั้งละ ครึ่งแก้ว วันละ 3 มื้อ หรือใช้ใบเตยร่วมกับสมุนไพรตัวอื่นได้ค่ะ
ใบเตยหอม 32 ใบ ใบสัก 9 ใบ นำมาหั่นตากแดด แล้วชงดื่มแบบชา หรือใส่หม้อดินต้ม รับประทานยาต่างน้ำทุกวัน
ข้อแนะนำ ควรรับประทานต่อเนื่องอย่างน้อย 1 เดือน
4. ตำลึงผักต้านอนุมูลอิสระ เอาชนะเบาหวาน มีสารวิตามินมากมาย
วิธีใช้
นำยอดตำลึง 1 กำมือ หรือขนาด ที่กินพออิ่ม โรยเกลือ หรือเหยาะน้ำปลา (เพื่อความอร่อย) ห่อด้วยใบตองเผาไฟจนสุก แล้วกินให้หมดหรือกินจนอิ่ม กินก่อนนอนติดต่อกันสามเดือนค่ะ
5. ลูกหว้า ผลไม้ในอดีตของเด็กไทย ต้านภัยเบาหวาน นำเมล็ดลูกหว้ามาโขลก ใส่หม้อต้มให้เดือด เคี่ยวไฟอ่อนๆสัก 15 นาที ให้ตัวยาออกมา รับประทานครั้งละ 1 ถ้วยชา วันละ 3 มื้อ เป็นเวลา 1 เดือน อาการเบาหวานจะทุเลา สามารถลดยา หรือใช้สมุนไพรในการดูแลอย่างเดียวได้ แต่ควรวัดระดับน้ำตาลในเลือดเสมอ (สามารถใช้เมล็ดแห้งแทนได้ กรณีไม่มีเมล็ดสด)
ตำรับยา ยาผงหรือแคปซูลหว้า
ผงเมล็ดลูกหว้าแห้ง 250 มิลลิกรัม นำผงเมล็ดลูกหว้าแห้งบรรจุแคปซูล หรือใช้ระลายน้ำ รับประทานวันละ 3 เวลา ขนาดอาจเพิ่มได้ถึง 4 กรัมต่อวัน รับประทานติดต่อกัน 1 เดือน สังเกตผลระดับน้ำตาลในเลือดค่ะ
การใช้เป็นอาหารสุขภาพ
น้ำลูก หว้า อาจใช้ผลสดหรือแห้ง นำมาต้มเป็นน้ำสมุนไพร สำหรับผู้ป่วยเบาหวานได้เช่นกันค่ะ"
เคล็ดลับดีๆแบบนี้ ก็อย่าลืมส่งต่อให้เพื่อนๆ หรือคนที่เพื่อนๆรักและ ห่วงใยด้วยคะ..
เพราะความสุขที่ยิ่งใหญ่ คือการเป็นผู้ให้ ขอให้มีสุขภาพที่ดี แข็งแรง ร่ำรวยความสุข ถ้วนหน้ากันทุกท่าน ตลอดไปเลยนะคะ..
อย่าลืม! ถ้าคุณชอบโปรดกด like. ถ้าคุณถูกใจโปรด subscribe! เพื่อเป็นกำลังใจ ให้แก่พวกเราด้วยคะ..ขอบคุณค่า..
Subscribe to Healthy Natural นานา สมุนไพร
Youtube : https://goo.gl/urmvNp
Twitter : https://goo.gl/HKZaG4
Facebook : https://goo.gl/urmvNp
Google Plus : https://goo.gl/E1ku0J
pinterest : https://goo.gl/TB7RkC
PLEASE SHARE THIS VIDEO
Share
subscribe (สับตะไคร้) : https://goo.gl/hpKUtI
แชร์บน facebook คลิ๊กที่นี่ : https://goo.gl/7szAGN
แชร์บน google + คลิ๊กที่นี่ : https://goo.gl/HeAFZR
แชร์บน twitter คลิ๊กที่นี่ : https://goo.gl/zfuBTC
แชร์บน pinterest คลิ๊กที่นี่ : https://goo.gl/l3upoS
แชร์บน tumblr คลิ๊กที่นี่ : https://goo.gl/lG1dwh
แชร์บน reddit คลิ๊กที่นี่ : https://goo.gl/zdJa1X

มะระขี้นก ข้อควรระวัง 在 สมุนไพรอภัยภูเบศร - มะระขี้นก (Bitter Cucumber) ผักข้มขม..ที่ทั่ว ... 的推薦與評價
บัติ ข้อห้ามใช้มะระขี้นก -ห้ามใช้ในเด็ก หญิงตั้งครรภ์ ให้นมบุตร และผู้ที่มีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ -ควรระวังการใช้ร่วมกับยาลดน้ำตาลในเลือดชนิดรับประทาน ... <看更多>