📣 #鼻涕藥水 可以 #一直吃 嗎❓
鼻涕藥物種類繁多,又有很多複方組合
📌 常遇到小孩鼻涕好轉還繼續喝 #希普利敏,造成 #鼻塞 或 #鼻涕更黏稠😱
📌 也常遇到過敏性鼻炎家屬,開立 #長期 的第二代抗組織胺勝克敏液,有諸多疑慮💦
📌 或是感冒喝亞涕液喝 #超過一個禮拜,停藥後反而鼻塞💥
幫大家做個整理,希望能對抗組織胺藥水更熟悉💖
--
🔖 #希普利敏 (Cypromin)
鼻涕、噴嚏、眼睛癢、#蕁麻疹、皮膚搔癢都可以使用,約半小時會作用,屬於短效藥物,作用4-6小時。
因為是第一代抗組織胺所以會 #通過腦血管障壁,造成嗜睡、小孩 #躁動 (像睡不飽番番的樣子) 等副作用😖
想睡這副作用其實是可以讓病人順便休息,增強自己免疫力打敗病菌👊但是用在小小孩就要 #警慎評估精神狀況,注意是否是一直昏睡,整天沒有精神,這時可能 #隱藏嚴重感染🔥
不過希普利敏有一個很特別的副作用是 #促進食慾,所以可以用在食慾不佳的小孩 (慢性疾病、週期性嘔吐等原因)👍
另外其實感冒的鼻涕症狀 #通常3天 病程過後會慢慢改善,因此 #鼻涕改善的後期建議就停用希普利敏,以免造成鼻涕太黏稠反而出不來💥
--
🔖 #勝克敏液 (Cetirizine)
鼻涕、噴嚏、眼睛癢、蕁麻疹、皮膚搔癢都可使用,20-60分鐘內作用,屬於 #長效抗組織胺,效果約24小時,通常是一天服用一次。
因為是第二代抗組織胺不會過腦血管障壁,較 #少中樞副作用,#長期使用安全🌟
臨床上常應用在
📌 #季節性鼻炎:每天使用 『2-5週』,有效抑制發作
📌 #常年性過敏性鼻炎 每天使用,有效減輕症狀 ( #2週~ #2年 視嚴重度)
🔔研究證實:常年性過敏性鼻炎兒童,每天使用勝克敏 #3個月,有效改善生活品質✨
🔔塵螨造成的重度過敏性鼻炎,每天吃 #勝克敏2年搭配免疫治療,有效改善,沒有明顯副作用✨
📌18-24月大,#異位性皮膚炎 嬰兒連續使用勝克敏液18個月,沒有產生行為或神經上副作用,身體運動及神經發展也都正常💖
所以結論,當醫師開勝克敏液建議喝超過兩週時,大家可以不用緊張,小心觀察寶寶是否有不適情形就可以了🌸
--
🔖 #亞涕 Actin/ #鼻福 Peace/ #舒鼻適 Spiz
Triprolidine屬於第一代短效抗組織胺30-60分鐘內作用
,效果約4-6小時。
因為亞涕液這類藥水含 #類交感興奮劑 pseudoephedrine,所以除了治療鼻涕、喷涕之外,還可以治療鼻塞的問題🌞
但相對的副作用除了第一代抗組織胺嗜睡、口乾的副作用,還多了心跳變快、興奮等副作用🤓
還有重點建議 #短期使用,#不可超過5-7天,避免 #反彈性鼻炎造成鼻塞😖
--
🔖 #息咳寧 (Secorine)
含有第一代短效抗組織胺Chlorpheniramine,30分鐘內作用,效果約4-6小時。
但另外含有 #支氣管擴張劑:methylephedrine、還有化痰劑:Guaiacol glycolate (就是glyceryl)。所以多了抗鼻塞、#咳痰、#支氣管氣喘…等功能💪
methylephedrine也是類交感興奮劑,所以可能會產生心跳變快和躁動的副作用😢
使用這類綜合感冒複方藥,注意 #不能自行併用其他感冒藥,以免藥性重複造成過量喔☠️
--
📣附註:因 #疫情升溫,本院桃榮的疫苗門診掛爆,現正協調 #增加其他平日門診時間 給民眾報名,雖然很多病人來我也很累,但能對防疫盡一份心力,感覺很值得👍
大家一起加油💗 #台灣加油✨
--
Reference:
📌 Simon FE: Prospective, long-term safety evaluation of the H1-receptor antagonist cetirizine in very young children with atopic dermatitis. ETAC Study Group. Early Treatment of the Atopic Child. J Allergy Clin Immunol 1999;104:433-440.
📌 The Clinical Use of Cetirizine in the Treatment of Allergic Rhinitis. Pharmacology. 2013;92(1-2):14-25.
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過3萬的網紅[email protected],也在其Youtube影片中提到,益生菌 - 黃世豪腸胃及肝臟科專科醫生@FindDoc.com FindDoc Facebook : https://www.facebook.com/FindDoc FindDoc WeChat : 快徳健康香港 FindDoc FindDoc Instagram:@finddochk ...
allergic rhinitis treatment 在 หมอแพมชวนอ่าน Facebook 的最佳解答
รีโพสต์ต่อเนื่อง
ไม่ใช้ยา ใช้อะไรได้บ้างเพื่อบรรเทาหวัดให้ลูก
ปล.น้ำผึ้ง ควรใช้ในเด็กอายุมากกว่า 1 ปี และซื้อน้ำผึ้งที่ได้รับตรา อย.นะคะ
#รักษาหวัดโดยไม่ใช้ยา (อิงหลักฐานทางการแพทย์)
.
หากใครอ่านโพสต์
“6 ข้อ...ที่หมอเด็กอยากบอก เมื่อเด็กเล็กเป็นหวัด”
ก็น่าจะมีความเข้าใจระดับหนึ่งนะคะ
หวัดเป็นโรคที่เจอบ่อยที่สุด
เด็กเป็นหวัดเฉลี่ย 6-8 ครั้ง/ปี
(โดยเฉพาะเด็กที่เพิ่งไป nursery หรือ อนุบาลใหม่ๆ เป็นเดือนละ 2 ครั้ง ก็เจอบ่อย)
โรคหวัดภาษาทางการ คือ Rhinitis
ซึ่งรากศัพท์ Rhino แปลว่าจมูก -itis แปลว่าอักเสบ
รวมกัน แปลว่า การอักเสบที่เกิดบริเวณจมูก (เริ่มที่จมูก)
ซึ่ง สาเหตุ #เกิดจากการติดเชื้อไวรัส
เมื่อเยื่อบุจมูกอักเสบ
ก็จะตอบสนองด้วยการบวม และมีการคัดหลั่งน้ำมูกเพิ่ม
เราก็จะมี #อาการคัดจมูก และ #มีน้ำมูก
เชื้อไวรัสที่เข้าสู่ร่างกาย เม็ดเลือดขาวทำหน้าที่ต่อสู้กับเชื้อโรค
เม็ดเลือดขาว จะหลั่งสารต่างๆในกระบวนการกำจัดเชื้อโรค
ทำให้เรา #มีไข้ #รู้สึกไม่สบายตัว
(ในเด็กก็จะแสดงอาการ งอแง หรือบางคนก็หลับมาก ไม่เล่น ไม่ร่าเริง)
.
ทีนี้ถามว่า ยารักษาเฉพาะ
แบบว่าไปฆ่าเชื้อโรคในร่างกายเลยมีมั้ย?
ตอบว่า #ไม่มี
การรักษาก็จะเป็นแบบประคับประคอง
supportive treatment หัวใจของการรักษาแบบนี้คือ
#ทำได้แค่ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายขึ้นเท่านั้น
.
ยาที่เราเรียกว่า ยารักษาตามอาการ เช่น
มีไข้ ก็ให้ยาลดไข้
คัดจมูก ก็ให้ยาลดบวมของเยื่อบุจมูก
มีน้ำมูก ก็ให้ยาลดน้ำมูก
มีอาการไอ ก็ให้ยาแก้ไอกลุ่มยาละลายเสมหะ
.
ซึ่งเป็นยาที่ใช้มาอย่างช้านานแล้วใช่มั้ยคะ
แต่จากการรวบรวมผลการศึกษาหลายๆการศึกษา
และนำมาสรุปผล (meta-analysis)
กลับพบว่า ยาลดอาการคัดจมูก ยาลดน้ำมูก ยาละลายเสมหะ นอกจากจะไม่ช่วยลดอาการหวัดของเด็ก/ไม่ช่วยให้หวัดหายเร็วขึ้น #ยายังมีผลข้างเคียงเกิดขึ้นอีกด้วย
อย่างที่เคยเขียนในโพสต์ก่อน ว่ายาลดน้ำมูก ทำให้น้ำมูกเหนียวข้นขึ้น ในเด็กเล็ก
ไอไม่เก่ง ขากเสมหะไม่ได้
มีรายงานว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เชื้อกระจายลงไปที่ทางเดินหายใจส่วนล่างมากขึ้น
และยาลดอาการคัดจมูก กับยาละลายเสมหะ
ก็ไม่มีผลยืนยันที่บอกว่าทำให้เด็กดีขึ้น
(คือกินกับไม่กินก็เหมือนๆกัน)
แปลว่า ไม่ต้องให้ เพราะให้ก็จะเกิดผลข้างเคียงของยาได้แถมยังไม่เกิดประโยชน์อีก
.
แต่ในผู้ใหญ่ ยาลดคัดจมูก ยาลดน้ำมูก และยาแก้ไอ
กินยาแล้วเราก็ดีขึ้น ไม่ต้องทรมานกับน้ำมูกที่ไหลเวลาทำงาน ยาลดคัดจมูกก็ทำให้หายใจโล่งขึ้น
ดังนั้น การศึกษาในผู้ใหญ่ ยาพวกนี้ ก็จะได้ผลดีในแง่เรื่องคุณภาพชีวิต
.
👉 ข้อสรุปก็คือ ในเด็กอายุมากกว่า 6 ปี ก็คล้ายกับผู้ใหญ่
คือ การให้ยาช่วยลดอาการต่างๆ ดูเหมือนว่าจะได้ประโยชน์ในแง่คุณภาพชีวิตตอนที่เจ็บป่วย ดีขึ้น ให้ยาได้ด้วยความสบายใจ
👉 ในเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี
จะเป็นเด็กที่พบผลข้างเคียงจากยามากที่สุด
ในอเมริกามีข้อห้ามใช้ยาเพื่อรักษาหวัด
(Over-the-counter cold medications)
ในเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี ตั้งแต่ปี 2008
ในเด็กกลุ่มนี้ ไม่ต้องแปลกใจ ถ้าเป็นหวัดแล้วไปพบหมอเด็กจะได้มาแค่ #ยาลดไข้กับน้ำเกลือหยดจมูก
(แต่ก็ไม่ได้มีข้อห้ามใช้เป็นทางการนะคะ แพทย์บางคนยังจ่ายยาลดน้ำมูกก็ไม่ถือเป็นความผิด
เอาเป็นว่าใช้ได้ #แต่ต้องระมัดระวังมากในเด็กอายุน้อย)
ส่วนในเด็กอายุ 2-5 ปี การให้ยา
ก็ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของแพทย์
ซึ่งส่วนตัวหมอเองก็จ่ายยาเหมือนกันค่ะ ตามความจำเป็น จะให้คำแนะนำแม่เป็นหลัก
.
อ่านไปอ่านมา....คุณแม่เริ่มกังวลใจใช่มั้ยคะ
ถ้ายาไม่ได้ทำให้อาการดีขึ้น แถมยังอาจจะมีผลข้างเคียง แล้วจะทำอย่างไรดี?
เรื่องนี้ ไม่ใช่เป็นความกังวลเฉพาะบ้านเมืองเรานะคะ
ที่อเมริกาเอง ก็พบผลข้างเคียงที่เกิดจากการใช้ยาลดอาการหวัดในเด็กมาก เค้าก็เลยเริ่มมีการศึกษา ว่าจะมีวิธีการรักษาที่ไม่ใช่ยาหรือไม่?
American Academy of Pediatrics (AAP)
มีบทความที่เขียนให้ความรู้เรื่อง
วิธีการบรรเทาอาการหวัดในเด็ก โดยไม่ใช้ยา โดยความรู้พวกนี้ก็อ้างอิงมาจากงานวิจัยทางการแพทย์
หมอจะสรุปให้ดังนี้นะคะ
======================
❤❤ น้ำผึ้ง ( AAP เรียกสูตรนี้ว่า Sweet dreams)
น้ำผึ้ง มีการศึกษามากมาย แต่ที่ผลการศึกษาไปในทางบวก ก็คือการลดภาวะไอตอนกลางคืน
โดยแนะนำให้ใช้ในเด็กอายุมากกว่า 1 ปี
เพราะกลัวเรื่อง toxin ที่อาจปนเปื้อนในน้ำผึ้ง
(ซื้อน้ำผึ้งที่มี อย. นะคะ)
โดยขนาดที่แนะนำคือ กินครั้งละ ½-1 ช้อนชา บ่อยแค่ไหนไม่ได้แนะนำชัดเจน แต่หมอใช้น้ำผึ้งกับลูกสาวตั้งแต่เล็กๆ หมอเอา 1 ช้อนชา มาผสมน้ำอุ่นสัก 10 ซีซี แล้วให้กินวันละ 3-4 ครั้ง บางบ้านเอาไปผสมมะนาวก็ได้ค่ะ หรือใครจะให้กินเปล่าๆเลยก็ได้ค่ะ
=====================
❤❤ น้ำเกลือสำหรับหยด/spray/ล้างจมูก
สำหรับตัวเอง สำหรับเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี หมอจะให้น้ำเกลือไป #หยดจมูก เสมอค่ะ
(อ่านโพสต์ ล้างจมูกในเด็กเพิ่มเติมนะคะ อธิบายไว้แล้ว ว่า หยด กับ ล้าง ไม่ใช่เรื่องเดียวกัน)
โดยเฉพาะอายุน้อยกว่า 1 ปี ที่ยังกินนมเป็นอาหารหลัก เพราะการที่จมูกบวมและน้ำมูกอยู่ในโพรงจมูก
จะทำให้เด็กเล็กหายใจลำบากมาก
การกลืน คือต้องหายใจไปพร้อมๆกับจังหวะการหยุดหายใจ เด็กจะเหนื่อยมาก ช่วงดูดนม
เพราะฉะนั้น ก่อนกินนมคุณแม่ควรหยดจมูกด้วยน้ำเกลือให้ลูกก่อน และอีกเวลาที่จะแนะนำคือก่อนนอน
(จะทำบ่อยกว่านี้ก็ได้ #แต่เวลาที่ต้องทำเลยคือก่อนกินนมกับก่อนนอน)
ส่วนเรื่องการสวนล้างจมูก (nasal irrigation)
ควรทำมั้ยในเด็กเป็นหวัด?
ตัดสินให้ไม่ได้ แต่ให้ข้อมูลนะคะ
เพราะแต่ละบ้านก็มีความรู้สึกต่อการสวนล้างจมูกไม่เหมือนกัน
การสวนล้างจมูกนั้น ได้ผลดี ที่พิสูจน์แล้ว
คือ 1. คนไข้ที่เป็นไซนัสอักเสบเรื้อรัง
2.คนไข้ภูมิแพ้จมูก (allergic rhinitis) ที่มีอาการทางจมูกมากเท่านั้น และให้ร่วมกับการรักษาอื่น
การล้างจมูกในหวัด ไม่มีผลทำให้อาการดีขึ้นชัดเจน
และไม่มีการศึกษาที่ยืนยันว่า
ถ้าเป็นหวัด ล้างจมูกแล้วจะทำให้เชื้อกระจาย
เกิดโรคหูชั้นกลางอักเสบ ไซนัสอักเสบนะคะ
เอาเป็นว่า #เอาที่เราสะดวกเลยค่ะ
เพราะมันมีรายละเอียดเรื่อง
👉 ความร่วมมือของลูก
👉 เทคนิคการล้าง
ถ้าเด็กบ้านไหน กลัวมาก ดิ้นมาก
แนะนำว่า ไม่ต้องล้างตอนเป็นหวัดหรอกค่ะ
ยิ่งดิ้นมาก อุปกรณ์ไปกระทบเยื่อบุจมูก ทำให้บวมขึ้น
แทนที่จะดี กลับกลายเป็นผลร้าย
หรือ เด็กกลัวมาก ถ้าเป็นหมอ หมอจะรักษาหัวใจของลูกมากกว่าค่ะ
เพราะก็ไม่ได้ดีชัดเจน #ทำไมต้องทำร้ายจิตใจลูกด้วย
ที่สำคัญ ไม่ต้องล้างจมูก หวัดก็หายได้เองอยู่แล้ว
ถ้าลูกสั่งน้ำมูกเป็น ก็สั่งเองเอาน้ำมูกออกมาได้มากกว่าค่ะ แล้วค่อยเอาน้ำเกลือ spray ตาม
(ผลการศึกษาบอกว่าเด็กส่วนใหญ่ สนิทใจที่จะใช้น้ำเกลือแบบ spray มากที่สุด)
=====================
❤❤ Vapor rubs (พวกน้ำมันหอมระเหย) ซึ่งก็ใช้แพร่หลายในบ้านเราเหมือนกันนะคะ
ซึ่งจากงานวิจัย พบว่า จะช่วยให้เด็กหายใจโล่งขึ้นนะคะ AAP แนะนำให้ใช้ในเด็กอายุมากกว่า 2 ปี
โดย #ทาบางบางที่หน้าอก ไม่แนะนำให้ทาใต้จมูก หรือบริเวณใบหน้า หรือทาหนาเกินไป
เพราะทำให้เด็กรู้สึกร้อนบริเวณที่ทา และเคยเจอเคสที่เยื่อบุจมูกบวมไม่หายซักที อาการเหมือนภูมิแพ้จมูก รักษาเท่าไหร่ก็ไม่หาย ท้ายที่สุดได้ข้อมูลว่า ทา vapor rub ที่จมูกให้ลูกทุกคืน (เป็นความเชื่อว่าทำให้ลูกหายใจสบาย) พอหยุดทา เด็กก็อาการดีขึ้น ดังนั้น อะไรที่มากไปย่อมไม่ดี ทำตามที่ฉลากยาแนะนำ ดีที่สุดค่ะ
.
หวัด เป็นโรคที่เราดูแลลูกได้เองที่บ้าน อาการเด็กจะดูดีตอนกลางวัน แต่กลางคืนจะแย่ลง เป็นกันทุกบ้านนะคะ
ธรรมชาติของโรค วันแรกที่อาการเริ่ม อาการไม่มาก แต่วันที่อาการหนักจะเป็นวันที่ 2-4
หากผ่านช่วง peak ไปได้แล้ว หลังจากนั้น จะดีขึ้นตามลำดับ
ถ้าไม่เป็นไปตามนี้ คือ แย่ลงทุกวันทุกวัน มีอาการอื่นเพิ่มทุกวัน แนะนำพาไปพบแพทย์
หรือ ถ้าคุณแม่คิดว่าลูกมีอาการที่น่ากังวล ก็ควรพาไปพบแพทย์นะคะ
.
หมอแพม
ที่มาของข้อมูล
บทความของ AAP
http://www.aappublications.org/content/32/12/32.5
งานวิจัยเกี่ยวกับการล้างจมูก
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/20238351
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/…/PMC43954…/pdf/nihms483545.pdf
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/…/a…/PMC3904042/pdf/zrie119.pdf
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/22727153
allergic rhinitis treatment 在 Cheekiemonkies Facebook 的最佳解答
[Public Service Announcement] The Haze Subsidy Scheme is in effect from today onwards. Kids below 19 years old, the elderly (65 & above) and lower and middle-income Singaporeans seeking treatment at GPs or polyclinics for treatment of haze-related conditions, which are, allergic rhinitis, asthma, bronchitis, chronic obstructive pulmonary disease (COPD), conjunctivitis and upper respiratory tract infections (URTI) will pay subsidized rates.
Pioneers will pay no more than $5, and other eligible Singaporeans will pay no more than $10. Visit https://www.moh.gov.sg/content/moh_web/home/pressRoom/Current_Issues/2014/haze/haze-subsidy-scheme.html for more information.
allergic rhinitis treatment 在 [email protected] Youtube 的精選貼文
益生菌 - 黃世豪腸胃及肝臟科專科醫生@FindDoc.com
FindDoc Facebook : https://www.facebook.com/FindDoc
FindDoc WeChat : 快徳健康香港 FindDoc
FindDoc Instagram:@finddochk
(一)食物補充益生菌可行嗎? 00:06
(二)益生菌是什麼? 00:42
(三)益生菌有什麼功用? 01:23
(四)醫生如何選擇適合病人的益生菌? 01:54
(本短片作健康教育之用,並不可取代任何醫療診斷或治療。治療成效因人而異,如有疑問,請向專業醫療人士諮詢。)
參考資料:
1. Lisko, D. J., Johnston, G. P., & Johnston, C. G. (2017). Effects of Dietary Yogurt on the Healthy Human Gastrointestinal (GI) Microbiome. Microorganisms, 5(1), 6. https://doi.org/10.3390/microorganisms5010006
2. Kechagia, M., Basoulis, D., Konstantopoulou, S., Dimitriadi, D., Gyftopoulou, K., Skarmoutsou, N., & Fakiri, E. M. (2013). Health benefits of probiotics: a review. ISRN nutrition, 2013, 481651. https://doi.org/10.5402/2013/481651
3. Hill, D., Sugrue, I., Tobin, C., Hill, C., Stanton, C., & Ross, R. P. (2018). The Lactobacillus casei Group: History and Health Related Applications. Frontiers in microbiology, 9, 2107. https://doi.org/10.3389/fmicb.2018.02107
4. Akatsu H., Iwabuchi N., Xiao J., Matsuyama Z., Kurihara R., Okuda K., et al. (2013). Clinical effects of probiotic Bifidobacterium longum BB536 on immune function and intestinal microbiota in elderly patients receiving enteral tube feeding. J. Parenter Enteral Nutr. 37 631–640. 10.1177/0148607112467819
5. Yang, G., Liu, Z. Q., & Yang, P. C. (2013). Treatment of allergic rhinitis with probiotics: an alternative approach. North American journal of medical sciences, 5(8), 465–468. https://doi.org/10.4103/1947-2714.117299
6. Uronis, J. M., Arthur, J. C., Keku, T., Fodor, A., Carroll, I. M., Cruz, M. L., Appleyard, C. B., & Jobin, C. (2011). Gut microbial diversity is reduced by the probiotic VSL#3 and correlates with decreased TNBS-induced colitis. Inflammatory bowel diseases, 17(1), 289–297. https://doi.org/10.1002/ibd.21366
7. Fedorak R. N. (2010). Probiotics in the management of ulcerative colitis. Gastroenterology & hepatology, 6(11), 688–690.
8. Dale, H. F., Rasmussen, S. H., Asiller, Ö. Ö., & Lied, G. A. (2019). Probiotics in Irritable Bowel Syndrome: An Up-to-Date Systematic Review. Nutrients, 11(9), 2048. https://doi.org/10.3390/nu11092048
9. Mimura, T., Rizzello, F., Helwig, U., Poggioli, G., Schreiber, S., Talbot, I. C., Nicholls, R. J., Gionchetti, P., Campieri, M., & Kamm, M. A. (2004). Once daily high dose probiotic therapy (VSL#3) for maintaining remission in recurrent or refractory pouchitis. Gut, 53(1), 108–114. https://doi.org/10.1136/gut.53.1.108
資料來源:https://www.FindDoc.com
查詢醫生資訊:
https://www.finddoc.com