💢IF กี่ชั่วโมง " Six pack ถึงจะมา💢
✅กูจะไม่ พูดพร่ำทำเพลงเข้าเรื่องเลยนะเพราะมันยาวเช่นเคย มือหงิงหำหงิงทุกครั้งเวลากูพิมพ์คอนเท้นให้พวกมึงอ่าน ใครทำกันกี ช.ม อยู่ แชร์กันมา
⏰ หยุดกินอาหาร 12 ชั่วโมง
✅ ร่างกายเริ่มเข้าภาวะคีโตซิส ในภาวะคีโตซิสนี้ ร่างกายเริ่มสลายไขมันเพื่อให้ตับนำไปผลิต Ketone bodies (Betahydroxy butyrate, Acetoacetate และ Acetone) ส่งไปให้ไมโตคอนเดรียของเนื้อเยื่อทั่วร่างกาย ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตพลังงาน (ATP)
✅ เซลล์ประสาทในสมองสามารถใช้คีโตนเป็นเชื้อเพลิงทางเลือกได้ดี ในขบวนการสันดาปคีโตนเพื่อสร้างพลังงานในไมโตคอนเดรียนั้น ก่อ Reactive Oxygen Species (ROS-เป็นอนุมูลอิสระประเภทหนึ่ง) น้อยกว่ากลูโคส นอกจากนั้น คีโตนยังสนับสนุนการสร้าง Brain Derived Neurotropic Factor (BDNF) อีกด้วย ส่งผลให้สมองและอารมณ์แจ่มใสในช่วงที่เราหยุดกินอาหาร (Fast State)
⏰ หลังหยุดกินอาหาร 18 ชั่วโมง
✅ ร่างกายปรับเปลี่ยนเป็นโหมดเผาผลาญไขมันเป็นพลังงานเต็มที่ และมีการสร้างคีโตนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญ เราจะเริ่มวัดระดับคีโตนในเลือดได้สูงกว่าค่าปกติ คือวัดได้ 0.6 ถึง 1 mmol/L
✅ ที่ระดับคีโตนในเลือด 0.6 mmol/L ขึ้นไป คีโตนจะออกฤทธิ์เป็นโมเลกุลส่งสัญญาณ (Signalling Molecule) ทำหน้าที่คล้ายฮอร์โมน ในการบอกร่างกายให้เปลี่ยนโหมดไปเป็นจัดการความเครียดระดับเซลล์ (Oxidative Stress) ที่เกิดขึ้น ซึ่งจะช่วยลดปฏิกิริยาอักเสบและซ่อมแซมดีเอ็นเอ ในระหว่างการหยุดกินอาหาร
⏰ หลังหยุดกินอาหาร 24 ชั่วโมง
✅ เซลล์จะเริ่มเกิดกระบวนการ Autophagy ซึ่งคือการนำเอาชิ้นส่วนอวัยวะเก่าๆภายในเซลล์ มารีไซเคิล มีการจัดการทำลายโปรตีนที่พับผิดรูป (misfold protein)เพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ มีงานวิจัยเพิ่มขึ้นที่แสดงว่า โปรตีนที่พับผิดรูปนี้เกี่ยวข้องกับโรคอัลไซเมอร์ และโรคเรื้อรังอื่นๆ
✅ Autophagy เป็นกระบวนการที่สำคัญภายในเซลล์ เพราะมันขจัดชิ้นส่วนเซลล์ที่เสียหายรวมทั้งโปรตีนที่พับผิดรูป ซึ่งเปรียบเหมือนขยะภายในเซลล์ ทำให้เซลล์สะอาดขึ้น
✅ การหยุดกินอาหาร (Fasting) กระตุ้น AMPK Signalling Pathway และขัดขวาง mTOR Pathway ดังนั้นการหยุดกินอาหารจึงกระตุ้น Autophagy อย่างเป็นธรรมชาติโดยปริยาย
⏰ หลังหยุดกินอาหาร 48 ชั่วโมง
✅ ระดับ Growth hormone ในเลือด เพิ่มขึ้นถึง 5 เท่าเมื่อเทียบกับที่เวลาเริ่มต้นหยุดกินอาหาร เนื่องจากระดับคีโตนที่สูงขึ้น จะส่งเสริมการหลั่ง Growth hormone
✅ นอกเหนือจากคีโตนแล้ว ฮอร์โมนความหิว Ghrelin ยังช่วยส่งเสริมการหลั่ง Growth hormone ด้วยเช่นกัน
✅ Growth hormone ช่วยสงวนการสูญเสียมวลกล้ามเนื้อ ลดการสะสมไขมันเข้าเนื้อเยื่อไขมัน นอกจากนั้น Growth hormone ดูเหมือนจะมีบทบาทในการยืดอายุขัยในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอีกด้วย ส่งเสริมให้แผลหายสนิทดี และส่งเสริมความแข็งแรงของระบบหลอดเลือดหัวใจ
⏰ หลังหยุดกินอาหาร 54 ชั่วโมง
✅ ระดับอินซูลินในเลือดลดลงต่ำสุดนับตั้งแต่เริ่มต้นหยุดกินอาหาร ร่างกายเพิ่มระดับความไวต่ออินซูลิน
✅ การลดระดับอินซูลินในเลือดลงได้ก่อเกิดประโยชน์ต่อสุขภาพนานัปการทั้งระยะสั้นและยาว โดย
1. การลดกิจกรรมของ nutrient sensors สำคัญ 2 ตัว คือ อินซูลิน และ mTOR เมื่อหยุดกินอาหารที่ 54 ชั่วโมงนั้นเพิ่มขบวนการ Autophagy อย่างชัดเจน
2. ลดภาวะอักเสบทั่วร่างกาย เนื้อเยื่อไขมัน ในขณะที่มีระดับอินซูลินในเลือดสูงนั้น จะปล่อยสารก่อการอักเสบกลุ่ม Cytokines ออกมาตลอดเวลา
3. ปกป้องร่างกายต่อโรคเรื้อรังที่มากับภาวะระดับอินซูลินในเลือดสูง (Hyperinsulinemia) เช่น แก่ก่อนวัย เบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ รวมถึงมะเร็ง เป็นต้น
⏰ หลังหยุดกินอาหาร 72 ชั่วโมง
✅ ร่างกายจะสลายเซลล์ภูมิคุ้มกันเก่าและสร้างเซลล์ภูมิคุ้มกันใหม่ที่ไฉไลกว่าเดิม
✅ การหยุดกินอาหารที่ยืดระยะเวลายาวนานเช่นนี้ จะลดระดับ IGF-1 (Insulin like Growth Factor 1) และลดกิจกรรมของ Protein Kinase A (PKA) IGF-1 มีโครงสร้างทางเคมีที่คล้ายอินซูลิน จึงมีฤทธิ์สนับสนุนการเจริญเติบโตของเกือบทุกเซลล์ในร่างกายเหมือนอินซูลิน
✅ การลดกิจกรรมของทั้ง IGF-1 และ PKA ด้วยการหยุดกินอาหารนี้ สามารถลดกิจกรรม mTOR แล้วหันไปบูรณะระบบป้องกันร่างกาย ด้วยการสร้างเซลล์ระบบภูมิคุ้มกันใหม่ (Self Renewal and Regeneration of Hematopoietic of Blood Cell Stem Cells)
✅ พบว่าการหยุดกินอาหารระยะยาว (Prologed Fasting) รักษาเซลล์เม็ดเลือดขาว (White Blood Cell ให้มีสภาพแข็งแรงสมบูรณ์ ปริมาณ Lymphocytes ปรกติ ในคนไข้มะเร็งที่ให้เคมีบำบัด
⭕️สรุป จากรายงาน การ IF 18 ชั่วโมง ส่วนตัวกูคือเป็นจุดที่ทำลายไขมันได้ดีที่สุด และ ทำได้จริงทำได้ทุกวันจริง การทำ IF 12 ถึง 18 ช.ม กูว่าไม่จำเป็นต้องหยุด เลยทำไปยาวๆ เป็นปีๆได้
⭕️นั้นไง ต้องมีหลายคนบอกอ้าวพี่เอเอพูดแบบนี้ก็ดราม่าสิวะ ก็ เทรนเนอร์ กูบอกให้หยุดบ้าง บอกว่าอย่าทำอะไรทำติดกันไปนานๆจะไม่ดี ยิ่ง if
⭕️ถูกคับบางอย่างทำอะไรมากไปไม่ดีและทำนานไปไมดี แต่ไม่ใช้ if 18 ชั่วโมงครับ การที่เราทำ If 18 ชมคือทำให้ร่างกายได้พัก 18 ชม ต่อวันทุกวันผมถือว่าเป็นการดี กูไม่ได้บอกให้พวกมึงไปทำ if 24 แบบยาวๆสักหน่อย
⭕️ทำไมกูถามหน่อยกูให้เวลาพวกมึงแดกกัน 6 ชม ต่อวันไม่พออีกหรือไงวะ มันโครตพอเลยครับสำหรับการที่เราจะเอาอะไรก็ตามยัดลงท้องเรา 6 ชม ต่อวัน
ห่าน ❗️ให้ร่างกายมันได้พักบ้างเถอะ และ research ค้าก็ออกมาแล้วว่า IF กี่ ชม ได้อะไรบ้างคนก็ประสมความสำเร็จกับ IF มามาย ไม่เสียหายก็ลองทำดูไม่ work กับเรา ก็เลิกสะไม่มีอะไรมาก อย่าต้องให้กูด่า
▶️และใครที่ทำ IF แล้วมีปัญหากับการอยากได้อะไรดื่มหวานๆหน่อยๆ ดื่มแล้วสดชื่น ดีกว่านำ้ปล่าว ขณะที่ทำ IF อยู่ ผมแนะนำนำ้ สมุนไพร หล่อฮังก๊วย ครับ ทานได้ครับ คนทำ IF ทำ คีโต ทานได้ ผู้ป่วยเบาหวานทานได้ มะเร็งทานดี เพราะ มันเป็น สมุนไพรชนิดเดียวจากธรรมชาติที่ไม่ไปยุ่งกับ อินสูลิน แต่ต้องระวังของปลอม นะ ของแท้มีน้อยมาก นอกจากจะต้มเอง หรือ ถ้าซื้อกู กูซื้อที่นี้อยู่ดี ร้าน FB page @herb2youdrink รับลองดูมันจะทำให้มึงสนุกกับการทำ if คีโตมากขึ้นมากๆ เย็ดเป็ดนิ้วล็อคละเลิกกันนะ กูไปละ
#อ่อนนักก็แพ้ไปคนที่ไหวถึงจะมี6แพค
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過19萬的網紅MedPartner美的好朋友,也在其Youtube影片中提到,關於青春痘的都市傳說中,食物的影響向來佔據了極大的篇幅,但如果以醫學實證的態度來探討,到底青春痘患者能吃什麼?不能吃什麼?都市傳說究竟是完全不可信?還是剛好也有一點道理呢?讓我們一起繼續看下去⋯⋯ ► 青春痘與牛奶、巧克力、甜食、油炸食物的關係 https://bit.ly/2NmgT61 ► ...
「insulin-like growth factor」的推薦目錄:
- 關於insulin-like growth factor 在 Aa_Perawatch Facebook 的最讚貼文
- 關於insulin-like growth factor 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳解答
- 關於insulin-like growth factor 在 李雪雯的健康財富百寶箱 Facebook 的精選貼文
- 關於insulin-like growth factor 在 MedPartner美的好朋友 Youtube 的精選貼文
- 關於insulin-like growth factor 在 夠維根Go Vegan Youtube 的最佳貼文
insulin-like growth factor 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳解答
"นมวัว ไม่ได้มีฮอร์โมนเอสโทรเจนสูง" ครับ
เจอคลิปของ "โค้ช" คนนึงที่ออกมาพูดโจมตีการดื่มนมวัว โดยอ้างว่าในน้ำนมวัวมีฮอร์โมนเอสโทรเจนสูง และจะเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งและโรคอื่นๆ อีกมากมาย ... แต่จริงๆ ฮอร์โมนเอสโทรเจนในนมวัวนั้น มีอยู่น้อยมากนะครับ น้อยกว่าที่ร่างกายเราผลิตเองได้ และน้อยกว่าอาหารอื่น อย่างถั่วเหลือง อยู่เป็นแสนเป็นล้านเท่าเลย
"นมวัว ไม่ได้มีฮอร์โมนเอสโทรเจนสูง" ครับ
เจอคลิปของ "โค้ช" คนนึงที่ออกมาพูดโจมตีการดื่มนมวัว โดยอ้างว่าในน้ำนมวัวมีฮอร์โมนเอสโทรเจนสูง และจะเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งและโรคอื่นๆ อีกมากมาย ... แต่จริงๆ ฮอร์โมนเอสโทรเจนในนมวัวนั้น มีอยู่น้อยมากนะครับ น้อยกว่าที่ร่างกายเราผลิตเองได้ และน้อยกว่าอาหารอื่น อย่างถั่วเหลือง อยู่เป็นแสนเป็นล้านเท่าเลย
ในน้ำนมวัวนั้นมีเอสโทรเจน ซึ่งเป็นฮอร์โมนกลุ่มเสตียรอยด์ที่ผลิตมาจากแม่วัว ไม่ต่างอะไรกับในน้ำนมคนหรือของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นๆ
แต่ปริมาณของฮอร์โมนกลุ่มเสตียรอยด์ทั้งหมดที่อยู่ในนม หรือผลิตภัณฑ์อาหารจากนมนั้น มีอยู่น้อยกว่าปริมาณที่ร่างกายของคนเราผลิตขึ้นเองตามธรรมชาติ อยู่เป็นแสนเป็นล้านเท่า
ตัวอย่างเช่น เนยที่มีปริมาณไขมัน 80 เปอร์เซนต์ จะมีเอสโทรเจนอยู่เพียงแค่ 1.9 นาโนกรัมต่อหนึ่งหน่วยบริโภค / น้ำนมหนึ่งแก้ว (8 ออนซ์ หรือ 236 มิลลิลิตร) มีเอสโทรเจนอยู่เพียง 2.2 นาโนกรัม ยิ่งถ้าเป็นนมพร่องมันเนยหนึ่งแก้ว มีเอสโทรเจนเหลือเพียง 0.8 นาโนกรัมเท่านั้น ... ขณะที่ร่างกายของคนเรา ทั้งหญิงและชาย จะผลิตเอสโทรเจนได้อยู่ในระดับตั้งแต่ 54,000 นาโนกรัมจนถึง 630,000 นาโนกรัมในแต่ละวัน (ข้อมูลจาก https://www.bestfoodfacts.org/is-there-estrogen-in-milk/)
ยิ่งถ้าดูจากภาพประกอบ (http://www.dairymoos.com/are-there-hormones-in-milk/) จะยิ่งเห็นชัดเลยว่า ไม่น่าจะต้องกังวลแต่อย่างไรถึงปริมาณของเอสโทรเจนที่เราจะได้รับจากการดื่มนม เมื่อเทียบกับที่ร่างกายผลิตขึ้น ไม่ว่าจะในเด็ก ผู้หญิง หรือผู้ชาย ... อาหารอย่างอื่น เช่น ถั่วเหลือง เต้าหู้ ยังจะมีเอสโทรเจนสูงกว่าในน้ำนมวัว มหาศาล
ส่วนเรื่องที่ว่า "ดื่มนม จะทำให้เป็นโรคมะเร็ง" นั้น ขอยกเนื้อหาที่เคยโพสต์ไว้ (https://www.facebook.com/OhISeebyAjarnJe…/…/400496943766698…) มาให้อ่านครับ ว่ามีงานวิจัยอะไรเกี่ยวกับเรื่องนี้บ้าง .. ซึ่งสรุปสั้นๆ ว่า งานวิจัยส่วนใหญ่ไม่พบหลักฐานยืนยันว่าการดื่มนมในปริมาณปรกติจะทำให้เกิดมะเร็งขึ้น ครับ
-----------------
ประเด็นใหญ่เลย "การดื่มนมทำให้เป็นโรคมะเร็ง" จริงเหรอ .. หรือมันช่วยป้องกันมะเร็ง
นับเป็นประเด็นที่คนสับสนกันมากเวลาอ่านข่าวทางด้านการแพทย์ เพราะจะมีข่าวทำนองว่า มีงานวิจัยใหม่บอกว่าการดื่มนมมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดมะเร็ง ขณะที่ก็มีข่าวเช่นกันว่า พบว่าการดื่มนมช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งได้ เอาไงกันแน่
เรื่องนึงที่เราควรจะเรียนรู้กันก่อน คือว่า งานวิจัยเกี่ยวกับ "ความเชื่อมโยงระหว่างอาหารกับโรค" ทำนองนี้มันมีข้อจำกัดอยู่นะ เพราะมันเป็นการวิจัยเชิง "สำรวจ" โดยเอาสถิติไปประเมินว่าอาหารที่กินเข้าไปนั้นมีความสัมพันธ์ทางสถิติกับ "ความเสี่ยงที่จะเกิดโรค" แค่ไหน แต่ไม่ได้จะเป็นการพิสูจน์ใดๆ เลยว่าอาหารนั้นเป็น "สาเหตุ" ก่อให้เกิดโรค ... บ่อยครั้ง ที่งานวิจัยเชิงสำรวจแบบนั้น พบว่าผิดพลาด เมื่อนำไปทำการทดลองจริงทางการแพทย์
พวกงานวิจัยเกี่ยวกับนมและมะเร็งนั้น พบว่าแทบทั้งนั้นที่เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ มันจึงไม่ได้เป็นตัวพิสูจน์แต่อย่างไรว่า นมหรือผลิตภัณฑ์นมจะก่อให้เกิดโรค เพียงแค่บอกว่ามันมีความเชื่อมโยงกัน (ซึ่งสาเหตุของโรค อาจจะเป็นอย่างอื่น ที่บังเอิญไปเชื่อมโยงกับนิสัยการนิยมดื่มนม ก็เป็นได้)
เรามาลองดูงานวิจัยกันไปทีละชนิดของโรคมะเร็งแล้วกัน (ข้อมูลจาก https://www.healthline.com/nutrition/dairy-and-cancer…)
5.1 มะเร็งลำไส้ Colorectal Cancer
ผลการศึกษาวิจัยนั้น พบว่าส่วนใหญ่แล้ว จะเอียงไปในทางที่่ว่าผลิตภัณฑ์จากนมนั้นช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งลำไส้ได้ (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/21617020 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/19116875 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/19116875 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/15240785 ) โดยองค์ประกอบบางอย่างในนมนั้น ที่น่าจะมีส่วนช่วยในการป้องกันมะเร็ง ได้แก่ แคลเซี่ยม วิตามินดี และแบคทีเรียที่ให้กรดแล็กติก ถ้าเป็นพวกนมเปรี้ยวและโยเกิร์ต
5.2 มะเร็งต่อมลูกหมาก Prostate Cancer
งานวิจัยส่วนใหญ่ ระบุว่าการดื่มนมเป็นปริมาณมากๆ ในแต่ละวันนั้น จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งต่อมลูกหมาก ( https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/25527754 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/16333032 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/15203374 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/22190107) ที่เป็นเช่นนั้น อาจจะเป็นเพราะว่านมมีสารประกอบทางชีวภาพอยู่มากมายหลายชนิด บางชนิดช่วยป้องกันมะเร็ง แต่บางชนิดก็อาจให้ผลตรงกันข้าม เช่น สาร Insulin-like growth factor 1 (IGF-1) ฮอร์โมน Estrogen
5.3 มะเร็งกระเพาะอาหาร Stomach Cancer
งานวิจัยส่วนใหญ่ ไม่พบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างชัดเจน ระหว่างนมที่ดื่มเข้าไปกับการเกิดมะเร็งกระเพาะ (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/25006674 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/25923921 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/25400475 ) ในน้ำนม มีทั้งสารที่ช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งกระเพาะได้ เช่น สาร conjugated linoleic acid (CLA) และเชื้อแบคทีเรียโปรไบโอติก ในนมเปรี้ยวและโยเกิร์ต แต่ก็มีสาร IGF-1 ที่อาจกระตุ้นให้เกิดมะเร็งกระเพาะได้
5.4 มะเร็งเต้านม Breast Cancer
โดยรวมแล้ว งานวิจัยบอกว่าผลิตภัณฑ์นมไม่ได้ส่งผลกระทบอะไรกับการเกิดโรคมะเร็งเต้านม (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/15213021 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/11914299 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/24330083 ) และงานวิจัยบางงานก็บอกว่า ผลิตภัณฑ์จากนมนั้นช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านมอีกด้วย ( https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/21442197 )
แล้วอย่างนี้เราควรจะดื่มนมได้มากแค่ไหนถึงจะปลอดภัย ... คำแนะนำคือ ควรจะดื่มทุกวัน แต่ไม่ควรจะเกินวันละ 2 แก้ว (ซึ่งถ้าเกินกว่านี้ จะเป็นระดับที่เพิ่มความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก)
insulin-like growth factor 在 李雪雯的健康財富百寶箱 Facebook 的精選貼文
「研究人員分析癌症死亡與全世界體重關聯,發現過重或肥胖可增加一個人罹患超過13種癌症的風險,包括乳癌、胃癌、甲狀腺癌、結腸癌與卵巢癌與其他癌症。
研究人員在報告中寫道,有不同機制解釋體脂肪如何影響癌症風險,過量體脂肪可誘導胰島素產生抗性,抑制胰島素樣生長因子(insulin-like growth factor ,簡稱IGF)結合蛋白,引發有利於腫瘤發展的細胞內信號傳導。」
insulin-like growth factor 在 MedPartner美的好朋友 Youtube 的精選貼文
關於青春痘的都市傳說中,食物的影響向來佔據了極大的篇幅,但如果以醫學實證的態度來探討,到底青春痘患者能吃什麼?不能吃什麼?都市傳說究竟是完全不可信?還是剛好也有一點道理呢?讓我們一起繼續看下去⋯⋯
► 青春痘與牛奶、巧克力、甜食、油炸食物的關係
https://bit.ly/2NmgT61
► 長青春痘要怎麼做好防曬?
https://youtu.be/tvnohG1v8lk
► 青春痘的成因、預防與治療
https://bit.ly/2JlhBhq
Reference
1. Pathogenesis, clinical manifestations, and diagnosis of acne vulgaris. UpToDate. Waltham, MA: UpToDate Inc. (Accessed on November 9 , 2017.)
2. Vongraviopap, Saivaree, and Pravit Asawanonda. “Dark chocolate exacerbates acne.” International journal of dermatology 55.5 (2016): 587-591.
3. Burris, Jennifer, William Rietkerk, and Kathleen Woolf. “Acne: the role of medical nutrition therapy.” Journal of the Academy of Nutrition and Dietetics113.3 (2013): 416-430.
4. Spencer, Elsa H., Hope R. Ferdowsian, and Neal D. Barnard. “Diet and acne: a review of the evidence.” International journal of dermatology 48.4 (2009): 339-347.
5. Kaymak, Yesim, et al. “Dietary glycemic index and glucose, insulin, insulin-like growth factor-I, insulin-like growth factor binding protein 3, and leptin levels in patients with acne.” Journal of the American Academy of Dermatology 57.5 (2007): 819-823.
--
MedPartner團隊由一群專業醫師、藥師、營養師、化妝品配方師組成,希望透過實證科學精神,努力分享最正確的健康、美容、保養相關資訊。我們的內容製作,完全由 MedPartner 專業醫療團隊負責,拒絕任何業配。
這支影片是由 3000 多位熱心網友訂閱集資支持,並由多位專業醫師協同設計師共同完成!
您所看到的優質內容,並非真的免費,而是許多有心人替您買單了。台灣需要一個不帶商業置入,堅持實證醫學的醫療新媒體。如果您也認為這件事情重要,請把這些知識分享給更多人。或者只要一天不到 5 元的心意,就能和我們一起為台灣拼出世界最優質的中文醫療保健新媒體!立即加入 ► https://goo.gl/Hw6bv2
► 追蹤最新知識與破解
https://www.facebook.com/MedPartnerTW/
► 立即查詢醫藥營養資訊
http://line.me/ti/p/%40wyt3898a
► 更多實用資訊
http://www.medpartner.club
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/2PovQmMC1LU/hqdefault.jpg)
insulin-like growth factor 在 夠維根Go Vegan Youtube 的最佳貼文
FB粉絲專頁:https://www.facebook.com/GoVeganTW
提倡一種新的生活態度,透過動畫宣導"動物權利"!
感謝【台灣素食營養學會】整理資料、提供贊助
【台灣素食營養學會 官網】http://www.twvns.org/
-------------------------------------------------
【補充資料】
豆腐補鈣,鹽滷、石膏哪種好 http://goo.gl/MWcs7w
今天的鈣夠了嗎 http://goo.gl/xGUOe7
蔬食鈣高尚 https://goo.gl/Mz2fkB
素食者是否該喝牛奶 http://goo.gl/NSDmQN
1. 喝牛奶增加死亡率、骨折率 (瑞典研究):
Michaëlsson K, Wolk A, Langenskiöld S, Basu S, Warensjö Lemming E, Melhus H, Byberg L. Milk intake and risk of mortality and fractures in women and men: cohort studies. BMJ. 2014 Oct 28;349:g6015.
2. 青少年喝奶量與老年時的骨折率:
Feskanich D, Bischoff-Ferrari HA, Frazier AL, Willett WC. Milk consumption during teenage years and risk of hip fractures in older adults. JAMA Pediatr. 2014 Jan;168(1):54-60. doi: 10.1001/jamapediatrics.2013.3821.
3. 其他喝牛奶與骨折的研究:
Bolland MJ, Leung W, Tai V, Bastin S, Gamble GD, Grey A, Reid IR. Calcium intake and risk of fracture: systematic review. BMJ. 2015 Sep 29;351:h4580. doi:10.1136/bmj.h4580. Review.
Bischoff-Ferrari HA, Dawson-Hughes B, Baron JA, Kanis JA, Orav EJ, Staehelin HB, Kiel DP, Burckhardt P, Henschkowski J, Spiegelman D, Li R, Wong JB, Feskanich D, Willett WC. Milk intake and risk of hip fracture in men and women: a meta-analysis of prospective cohort studies. J Bone Miner Res. 2011 Apr;26(4):833-9.
4. D-半乳糖:
Hao L, Huang H, Gao J, Marshall C, Chen Y, Xiao M. The influence of gender, age and treatment time on brain oxidative stress and memory impairment induced by dgalactose in mice. Neurosci Lett 2014;571C:459.
Cui X, Wang L, Zuo P, Han Z, Fang Z, Li W, et al. D-galactose caused life shortening in Drosophila melanogaster and Musca domestica is associated with oxidative stress. Biogerontology 2004;5:31725.
5. IGF-1相關:
Cao Y, Nimptsch K, Shui IM, Platz EA, Wu K, Pollak MN, Kenfield SA, Stampfer MJ, Giovannucci EL. Prediagnostic plasma IGFBP-1, IGF-1 and risk of prostate cancer. Int J Cancer. 2015 May 15;136(10):2418-26. doi: 10.1002/ijc.29295. Epub
2014 Nov 10.
Ma J, Giovannucci E, Pollak M, Chan JM, Gaziano JM, Willett WC, Stampfer MJ. Milk intake, circulating levels of insulin-like growth factor-I, and risk of colorectal cancer in men. J Natl Cancer Inst 2001; 93:1330–6.
Qin LQ, He K, Xu JY. Milk consumption and circulating insulin-like growth factor-I level: a systematic literature review. Int J Food Sci Nutr 2009;60(Suppl 7):330–40.
Allen NE, Appleby PN, Davey GK, Key TJ. Hormones and diet: low insulin-like growth factor-I but normal bioavailable androgens in vegan men. Br J Cancer 2000;83:95–7.
6. 攝護腺癌:
Aune D, Navarro Rosenblatt DA, Chan DS, Vieira AR, Vieira R, Greenwood DC, Vatten LJ, Norat T. Dairy products, calcium, and prostate cancer risk: a systematic review and meta-analysis of cohort studies. Am J Clin Nutr. 2015 Jan;101(1):87-117.
7. 牛乳與便秘:
Andiran F, Dayi S, Mete E. Cows milk consumption in constipation and anal fissure in infants and young children. J Paediatr Child Health. 2003 Jul;39(5):329-31.
Irastorza I, Ibañez B, Delgado-Sanzonetti L, Maruri N, Vitoria JC. Cow's-milk-free diet as a therapeutic option in childhood chronic constipation. J Pediatr Gastroenterol Nutr. 2010 Aug;51(2):171-6.
Carroccio A, Mansueto P, Morfino G, D'Alcamo A, Di Paola V, Iacono G, Soresi M, Scerrino G, Maresi E, Gulotta G, Rini G, Bonventre S. Oligo-antigenic diet in the treatment of chronic anal fissures. Evidence for a relationship between food hypersensitivity and anal fissures. Am J Gastroenterol. 2013 May;108(5):825-32.
Dehghani SM, Ahmadpour B, Haghighat M, Kashef S, Imanieh MH, Soleimani M. The Role of Cow's Milk Allergy in Pediatric Chronic Constipation: A Randomized Clinical Trial. Iran J Pediatr. 2012 Dec;22(4):468-74.
8. 牛乳與青春痘:
Melnik BC. Evidence for acne-promoting effects of milk and other insulinotropic dairy products. Nestle Nutr Workshop Ser Pediatr Program. 2011;67:131-45.
9. 鈣質吸收率:
Weaver CM, Plawecki KL. Dietary calcium: adequacy of a vegetarian diet. Am J Clin Nutr. 1994 May;59(5 Suppl):1238S-1241S. Review.
Weaver CM, Proulx WR, Heaney R. Choices for achieving adequate dietary calcium with a vegetarian diet. Am J Clin Nutr. 1999 Sep;70(3 Suppl):543S-548S. Review.
10.溫室氣體排放:
http://www.fao.org/agriculture/lead/themes0/climate/emissions/en/
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/JJohy1s-Fjg/hqdefault.jpg)
insulin-like growth factor 在 Human conditions of insulin-like growth factor-I (IGF-I) deficiency 的相關結果
Insulin-like growth factor I (IGF-I) is a polypeptide hormone produced mainly by the liver in response to the endocrine GH stimulus, ... ... <看更多>
insulin-like growth factor 在 insulin-like growth factor | biochemistry - Encyclopedia ... 的相關結果
insulin-like growth factor (IGF), any of several peptide hormones that function primarily to stimulate growth but that also possess some ability to decrease ... ... <看更多>
insulin-like growth factor 在 Insulin-like growth factor - Wikipedia 的相關結果
The insulin-like growth factors (IGFs) are proteins with high sequence similarity to insulin. IGFs are part of a complex system that cells use to ... ... <看更多>