A Tainan-based taxi driver has been recognized as the holder of the longest name in Taiwan, after completing the paperwork last week for a new moniker containing no less than 25 characters, according to the city's Anping District Household Registration Office.
https://focustaiwan.tw/society/202103030018
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過3萬的網紅Nicole Chang,也在其Youtube影片中提到,Our schedules finally synced and we managed to plan our very first girls trip together! In Seoul, we experienced many highlights and memorable moments...
longest driver 在 หนังโปรดของข้าพเจ้า Facebook 的最佳解答
-- หนังสงครามก่อน 1917 เขาเล่าเรื่องอะไรกันมาบ้าง (PART 2) --
เข้าสู่ยุค 60's จะบอกว่าเป็นยุคแรกเริ่มของการขยายขอบเขตหนังสงครามด้วยศักยภาพความมหัศจรรย์ของภาพยนตร์ก็ว่าได้ มีงานขึ้นหิ้งของเดวิด ลีน เรื่อง Lawrence of Arabia (1962) เรื่องราวของ ที.อี. ลอเรนซ์ นายทหารอังกฤษที่มีส่วนสำคัญในสงครามระหว่างอาหรับกับเติร์กในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นหนังโชว์งานกำกับภาพทะเลทรายอันยิ่งใหญ่ ผสมการเล่าชีวประวัติสุดยอดเยี่ยม มีฉากรบเจ๋ง ๆ ที่ค่อนข้างแตกต่างกว่าฉากสงครามเรื่องอื่นในสมัยนั้น แล้วในปีเดียวกันยังมี The Longest Day (1962) ที่เป็นหนังสงครามโชว์ฉากลองเทควัน D-Day ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วย
.
ในยุคนี้ยังมีหนังเกี่ยวข้องกับค่ายเชลยสงครามที่มีชื่อเสียงมาก ๆ เรื่อง The Great Escape (1963) สร้างจากเรื่องจริงของกลุ่มทหารฝั่งสัมพันธมิตรที่ตกเป็นเชลยสงครามของเยอรมัน ทหารในค่ายนี้ล้วนแล้วแต่เป็นนักหลบหนีแถวหน้า ทหารหลายคนในค่ายนี้ต่างเคยหลบหนีจากค่ายอื่นมาหลายครั้งแต่ก็ไปไม่พ้นเยอรมันสักที ส่วนฝั่งเยอรมันก็คิดแผนการใหม่คือสร้างค่าย Stalag Luft III ขึ้นมารวมพวกทหารที่หลบหนีบ่อย ๆ มาอยู่รวมกันให้หมดจะได้จัดการง่าย ๆ ซึ่งเชลยสงครามทำหน้าที่ก่อกวนปั่นป่วนข้าศึกได้สะแด่วจริง ๆ หนังใช้เวลาร่วมชั่วโมงครึ่งนำเสนอขั้นตอนของแผนการในการหลบหนีที่ใช้เวลาจริง ๆ กว่า 3 ปีครึ่งในการขุดอุโมงค์ตามแผน ขั้นตอนหลัก ๆ ก็คือการขุดซึ่งต้องมีอุปกรณ์ ก็ต้องประดิษฐ์อุปกรณ์หาไม้หาเหล็กมาทำพลั่ว ค้อน ไม้ค้ำยัน เครื่องสูบลมปั๊มอากาศ แล้วยังต้องหาวิธีกำจัดดินจากอุโมงค์อีก ตรงนี้หนังก็จะพาเราดูการทำงานขั้นตอนต่าง ๆ ก่อนหลบหนี เป็นหนังสร้างชื่อให้สตีฟ แมคควีนด้วย
.
อีกเรื่องที่คนยกย่องกันมาก ถ้าดูตามยุคสมัยก็น่าจะเป็นหนังเกี่ยวกับการก่อการร้ายเรื่องแรก ๆ เลยคือ The Battle of Algiers (1966) นำเสนอเหตุการณ์กลุ่มชาวแอลจีเรียเรียกร้องอิสรภาพจากฝรั่งเศสซึ่งเป็นผู้ปกครองจากการล่าอาณานิคมในขณะนั้น รูปแบบการเรียกร้องอิสรภาพของเขาเป็นแบบกองโจรใต้ดินคอยก่อเหตุวินาศกรรม ตั้งแต่ไล่ยิงตำรวจ จนทหารเข้ามาทำหน้าที่แทนก็เริ่มมีการสังหารหมู่ชาวยุโรป ใช้ระเบิดเป็นเครื่องมือก่อการร้าย แต่ฝ่ายฝรั่งเศสก็ใช่ว่าจะดีเพราะพวกเขาก็โจมตีชุมชนชาวอาหรับด้วยระเบิดจนฝ่ายเรียกร้องเอกราชต้องล้างแค้นรุนแรงขึ้น หนังเดินเรื่องด้วยการนำเสนอมุมมองจากทั้งสองฝ่าย บอกเล่าความโหดร้ายของสงครามซึ่งต่างฝ่ายต่างก็ทวีความรุนแรงมากขึ้น รวมถึงวิธีที่ทั้งสองฝ่ายใช้ต่างก็เป็นการขัดต่อกฎหรือหลักปฏิบัติของตัวเองซึ่งตรงนี้หนังไม่ได้บอกเราตรง ๆ แต่ถูกนำเสนอผ่านการเล่าเรื่องอย่างแยบยล เราจะเห็นหญิงมุสลิมใช้ความได้เปรียบจากการไม่ถูกตรวจค้นร่างกายแอบซ่อนปืนไปให้ผู้ชายสังหาร เห็นมุสลิมซึ่งต้องแต่งตัวคลุมมิดชิดยอมแต่งตัวเป็นสาวยุโรปเพื่อจะได้ผ่านด่านตรวจไปวางระเบิดง่าย ๆ เราจะเห็นตำรวจยอมกระทั่งสร้างเหตุการณ์ให้รุนแรงขึ้นเพื่อทางรัฐบาลจะได้มอบอำนาจให้มากขึ้น
.
ซึ่งจะว่าไปหลังจบสงครามโลกครั้งที่ 2 จนเข้าสู่ยุคสงครามเย็น ก็เหมือนจะไม่มีหนังเรื่องไหนพูดถึงสงครามเย็นระหว่างอเมริกากับโซเวียตจัง ๆ เหมือน Dr. Strangelove, Or How I Learned to Stop Worrying and Love the Bomb (1964) ของสแตนลีย์ คูบริก หนังตลกร้ายเสียดสีสงครามที่เรื่องราวดูเป็นจริงและน่าเชื่อถือ แต่กลับเต็มไปด้วยตัวละครที่ไม่ให้ความรู้สึกว่าเป็นบุคคลระดับผู้นำในห้อง War Room หนังเปิดเรื่องด้วยข่าวลือว่าโซเวียตมีการแอบพัฒนาอาวุธทำลายล้างโลก ก่อนจะตามมาด้วยนายพลกองทัพอากาศมีคำสั่งใช้แผนโจมตีโซเวียตด้วยอาวุธนิวเคลียร์ ซึ่งที่จริงแล้วคนออกคำสั่งใช้นิวเคลียร์มีเพียงคนเดียวคือประธานาธิบดี แต่ก็มีกรณีฉุกเฉินอย่างเช่นแผนไว้ใช้สำหรับตอบโต้หากถูกรุกราน ซึ่งคนออกคำสั่งได้ก็คือนายพลกองทัพอากาศคนนี้
.
แล้วเอาจริง ๆ ในช่วงยุค 60's ยังมีหนังแบบ Zulu (1964) สร้างจากเรื่องจริงของกองทัพอังกฤษ 140 คนตั้งรับต้านชนเผ่าซูลูกว่า 4,000 คนเอาไว้ได้ หลังจากกองทัพอังกฤษกว่า 1,200 คนที่อิชิวานถูกชนเผ่าซูลูสังหารหมู่ยกกองทัพ พวกซูลูก็ตั้งใจนำกำลังคนกว่า 4,000 คนบุกมาถล่มที่มั่นเล็ก ๆ ที่มีกำลังคนแค่ 140 คนนับรวมคนเจ็บด้วย หลังจากซูลูถล่มหนึ่งวันเต็ม พวกเขาก็ต้องถอยหลังและยกย่องความกล้าหาญของทหารอังกฤษ ซึ่งหนังก็มาแนวแอ็คชั่นยืนหยัดสู้เต็มที่
.
เข้ายุค 70's ที่เขานับเป็นยุคทองของฮอลลีวูดก็มีหนังสงครามขึ้นหิ้งแบบ Patton (1970) ชีวประวัตินายพลแพตตัน นายทหารผู้ที่ถูกการเมืองเล่นงาน ตกเป็นเหยื่อของการเมืองอเมริกาที่ต้องการเอาใจอังกฤษและสนับสนุนแนวรบตะวันออกอย่างรัสเซียเพื่อชนะสงคราม แม้รูปแบบของหนังจะเป็นการยกย่องเชิดชูวีรบุรุษผู้อยู่เบื้องหลังชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ผู้กำกับเลือกจะตีความนำเสนอนายพลแพตตันให้เป็น วีรบุรุษที่มีทั้งคนชอบและชิงชัง ซึ่งก็ไม่น่าแปลกใจเพราะนายพลแพตตันเป็นทหารที่มากความสามารถในการยุทธวิธีการรบ, มีวินัยสูง, มีความกล้าหาญ ทั้งหมดนี้ล้วนแต่เป็นคุณสมบัติของผู้นำศึกที่ดี นอกจากนี้แล้วความที่นายพลแพตตันมีลักษณะของทหารที่มุ่งหวังให้ชาติได้รับชัยในสงครามเท่านั้น จึงทำให้เขาไม่สนใจเกมการเมืองของเบื้องบน
.
สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงครามเวียดนามตั้งแต่ปี 1965 ก่อนจะถอนตัวช่วงปี 1973-1975 แต่กว่าจะเริ่มมีหนังพูดถึงสงครามเวียดนามก็ประมาณ 3 ปีจากนั้นคือ Coming Home (1978) และ The Deer Hunter (1978) ที่ชนะรางวัลออสการ์ เรื่องหลังถูกโจมตีเยอะเหมือนกันเรื่องการสร้างภาพความเลวร้ายของเวียดนามในสงครามแบบเกินจริงเอามาก ๆ เพราะหนังสร้างภาพให้คนเวียดนามสนุกสนานกับการฆ่าคน ทั้งที่ความจริงคนเวียดนามฆ่าทหารอเมริกันเพราะไม่มีทางเลือก เป็นสงครามเพื่อปกป้องประเทศ กลายเป็นหนังที่ถูกโจมตีว่าผู้แพ้กำลังบิดเบือนประวัติศาสตร์ด้วยภาพยนตร์ แต่หนังกลับชนะ 5 รางวัลออสการ์
.
แต่ยังไม่ทันจะเข้า 80's ก็มีหนังของฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปล่า เรื่อง Apocalypse Now (1979) ที่เริ่มแสดงให้เห็นความจริงอีกด้านของสงครามเวียดนามว่าเป็นสงครามที่ชาวอเมริกันไม่ได้อยากมาร่วมรบ พวกเขามาแบบไม่มีจุดหมาย ตรงกันข้ามกับชาวเวียดนามที่ต้องสู้เพื่อปกป้องแผ่นดินเกิด
.
เข้าสู่ยุค 80's ก็เริ่มเห็นหนังพูดถึงทหารผ่านศึกที่ได้รับผลกระทบจากสงครามเวียดนาม หนึ่งในนั้นคือ First Blood (1982) หรือหนังแรมโบ้นั่นเอง จริง ๆ หลังสงครามเวียดนาม มาร์ติน สกอร์เซซี่ เคยทำ Taxi Driver ปี 1976 เรื่องนั้นก็มาก่อนกาลเหมือนกันในแง่ของการพูดถึงอาการ PTSD ความเครียดจากการผ่านเหตุการณ์ร้ายแรงในสงคราม ซึ่งใน First Blood สะท้อนภาพบาดแผลในใจของทหารผ่านศึกจากสงครามเวียดนามที่เคยได้รับการยอมรับในสงคราม ทว่าพอกลับมาบ้านเกิดกลับกลายเป็นคนไร้ค่า แล้วหนังก็ปรับคาแรคเตอร์ตัวละครจากในนิยายที่เป็นนักฆ่าเลือดเย็นให้กลายเป็นคนที่น่าเห็นใจเพราะเขาเป็นเหยื่อสงครามนั้นก็ถือเป็นทางเลือกที่เหมาะสมมาก ๆ
.
ยุคนี้ยังมีหนังสงครามขึ้นหิ้งอย่างเรื่อง Platoon (1986) ของโอลิเวอร์ สโตน ที่เอาประสบการณ์ตัวเองสมัยสงครามเวียดนามมาทำเป็นหนัง เล่ามุมมองสงครามเวียดนามผ่านพลทหารหน้าใหม่ที่เฝ้าแต่นับวันปลดประจำการ ดิ้นรนมีชีวิตรอดไปวัน ๆ พวกเขาแทบไม่รู้ตัวเองด้วยซ้ำว่ามารบเพื่ออะไร ทหารส่วนมากก็คือคนยากจน คนผิวดำไม่มีงานทำก็มาสมัครเป็นทหาร แล้วหนังมันก็นำเสนอภาพขัดแย้งอย่างสิ้นเชิงของทั้งสองฝ่าย ชาวเวียดนามที่ยอมระเบิดฆ่าตัวตายเพื่อแลกกับชีวิตทหารอเมริกา มันคือความต่างของการสู้เพื่อแผ่นดินตัวเองกับผู้มาเยือนที่มาเพราะสถานการณ์บีบบังคับ
.
อีกเรื่องในปีต่อมาคือ Full Metal Jacket (1987) ของสแตนลีย์ คูบริค ที่ให้เราได้เห็นการฝึกทหารก่อนไปเข้าร่วมสงครามเต็ม ๆ เกือบครึ่งเรื่อง แต่พอถึงสนามรบที่ฝึกมากลับเลื่อนลอยมาก อาวุธล้ำสมัยและการฝึกที่เข้มข้นยังไม่สามารถสู้แรงจูงใจของชาวเวียดนามที่รบเพื่อปกป้องแผ่นดินเกิด
.
แล้วถ้าจะปิดท้ายยุคนี้ต้องมี Born on the Fourth of July (1989) อีกเรื่องของโอลิเวอร์ สโตน ที่ยืนยันจุดยืนหนักแน่นว่าเขาต่อต้านสงคราม หนังสร้างจากเรื่องจริงของรอน โควิค (แสดงโดย ทอม ครูซ) ทหารผ่านศึกจากสงครามเวียดนามที่ได้รับบาดเจ็บจนอัมพาตท่อนล่าง และถึงแม้เขาจะได้รับเกียรติเรียกให้เป็นวีรบุรุษสงครามแต่สิ่งที่รัฐบาลและผู้คนปฏิบัติต่อเขามันไม่ใช่สิ่งที่คนควรปฏิบัติกับวีรบุรุษของประเทศแม้แต่นิดเดียว กระทั่งการรักษาพยาบาลยังเสื่อมโทรมสุด ๆ
.
หนังโจมตีการชวนเชื่อตั้งแต่เด็ก จากเด็กน้อยที่ชอบเล่นยิงปืนใฝ่ฝันอยากเป็นทหาร แม่ก็คาดหวังว่าเป็นทหารแล้วจะดี วันชาติพาไปดูขบวนพาเหรดเห็นทหารบาดเจ็บถึงขั้นพิการก็ยังเดินขบวนยิ้มแย้ม เห็นการโฆษณาชวนเชื่อให้สมัครเป็นทหาร พอโตมาสมัครเป็นนาวิกโยธินอาสาไปรบในสงครามเวียดนามด้วยความมุ่งมั่น แต่เมื่อไปเจอสงครามจริง ๆ ก็มีเรื่องให้รู้สึกผิดเป็นตราบาป ทั้งการยิงผู้บริสุทธิ์และการที่เขาคิดว่าเขาฆ่าเพื่อนตัวเองโดยไม่ตั้งใจ บาดเจ็บอัมพาตกลับมาก็ยังเชื่อว่าสงครามเวียดนามคือสิ่งที่ถูกต้อง เป็นหนังที่พาเราไปสำรวจทหารผ่านศึกจริง ๆ กว่าจะตาสว่างเห็นความเลวร้ายของสงครามก็ต้องล้างความเชื่อเก่า ๆ ให้หมด
.
อีกเรื่องที่เป็นตำนานคลาสสิกจากยุค 80's คือ Das Boot (1981) จริง ๆ โลกเรามีหนังเรือดำน้ำก่อนหน้านี้เยอะมาก แต่กว่าจะมีเรื่องที่คนยอมรับกันก็เรื่องนี้ เรื่องราวของเรือดำน้ำเยอรมัน U-96 ซึ่งต้องออกลาดตระเวนจมเรือขนส่งสินค้าหรือเรือรบข้าศึก เป็นหนังที่ทำออกมาสมจริงมาก ทั้งงานสร้างและยุทธวิธีการรบใต้น้ำ เป็นหนังเทสเครื่องเสียงของยุคนึงเลยเพราะมีพวกเสียงโซน่าร์ เสียงน้ำหยด เสียงเครื่องยนต์ เสียงไต่ระดับความลึก
-----
อ่าน part 1 ยุค 30's - 50's ได้ที่: http://bit.ly/2tM5ZBo
longest driver 在 หนังโปรดของข้าพเจ้า Facebook 的最佳貼文
-\-\ หนังสงครามก่อน 1917 เขาเล่าเรื่องอะไรกันมาบ้าง (PART 2) -\-\
เข้าสู่ยุค 60's จะบอกว่าเป็นยุคแรกเริ่มของการขยายขอบเขตหนังสงครามด้วยศักยภาพความมหัศจรรย์ของภาพยนตร์ก็ว่าได้ มีงานขึ้นหิ้งของเดวิด ลีน เรื่อง Lawrence of Arabia (1962) เรื่องราวของ ที.อี. ลอเรนซ์ นายทหารอังกฤษที่มีส่วนสำคัญในสงครามระหว่างอาหรับกับเติร์กในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นหนังโชว์งานกำกับภาพทะเลทรายอันยิ่งใหญ่ ผสมการเล่าชีวประวัติสุดยอดเยี่ยม มีฉากรบเจ๋ง ๆ ที่ค่อนข้างแตกต่างกว่าฉากสงครามเรื่องอื่นในสมัยนั้น แล้วในปีเดียวกันยังมี The Longest Day (1962) ที่เป็นหนังสงครามโชว์ฉากลองเทควัน D-Day ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วย
.
ในยุคนี้ยังมีหนังเกี่ยวข้องกับค่ายเชลยสงครามที่มีชื่อเสียงมาก ๆ เรื่อง The Great Escape (1963) สร้างจากเรื่องจริงของกลุ่มทหารฝั่งสัมพันธมิตรที่ตกเป็นเชลยสงครามของเยอรมัน ทหารในค่ายนี้ล้วนแล้วแต่เป็นนักหลบหนีแถวหน้า ทหารหลายคนในค่ายนี้ต่างเคยหลบหนีจากค่ายอื่นมาหลายครั้งแต่ก็ไปไม่พ้นเยอรมันสักที ส่วนฝั่งเยอรมันก็คิดแผนการใหม่คือสร้างค่าย Stalag Luft III ขึ้นมารวมพวกทหารที่หลบหนีบ่อย ๆ มาอยู่รวมกันให้หมดจะได้จัดการง่าย ๆ ซึ่งเชลยสงครามทำหน้าที่ก่อกวนปั่นป่วนข้าศึกได้สะแด่วจริง ๆ หนังใช้เวลาร่วมชั่วโมงครึ่งนำเสนอขั้นตอนของแผนการในการหลบหนีที่ใช้เวลาจริง ๆ กว่า 3 ปีครึ่งในการขุดอุโมงค์ตามแผน ขั้นตอนหลัก ๆ ก็คือการขุดซึ่งต้องมีอุปกรณ์ ก็ต้องประดิษฐ์อุปกรณ์หาไม้หาเหล็กมาทำพลั่ว ค้อน ไม้ค้ำยัน เครื่องสูบลมปั๊มอากาศ แล้วยังต้องหาวิธีกำจัดดินจากอุโมงค์อีก ตรงนี้หนังก็จะพาเราดูการทำงานขั้นตอนต่าง ๆ ก่อนหลบหนี เป็นหนังสร้างชื่อให้สตีฟ แมคควีนด้วย
.
อีกเรื่องที่คนยกย่องกันมาก ถ้าดูตามยุคสมัยก็น่าจะเป็นหนังเกี่ยวกับการก่อการร้ายเรื่องแรก ๆ เลยคือ The Battle of Algiers (1966) นำเสนอเหตุการณ์กลุ่มชาวแอลจีเรียเรียกร้องอิสรภาพจากฝรั่งเศสซึ่งเป็นผู้ปกครองจากการล่าอาณานิคมในขณะนั้น รูปแบบการเรียกร้องอิสรภาพของเขาเป็นแบบกองโจรใต้ดินคอยก่อเหตุวินาศกรรม ตั้งแต่ไล่ยิงตำรวจ จนทหารเข้ามาทำหน้าที่แทนก็เริ่มมีการสังหารหมู่ชาวยุโรป ใช้ระเบิดเป็นเครื่องมือก่อการร้าย แต่ฝ่ายฝรั่งเศสก็ใช่ว่าจะดีเพราะพวกเขาก็โจมตีชุมชนชาวอาหรับด้วยระเบิดจนฝ่ายเรียกร้องเอกราชต้องล้างแค้นรุนแรงขึ้น หนังเดินเรื่องด้วยการนำเสนอมุมมองจากทั้งสองฝ่าย บอกเล่าความโหดร้ายของสงครามซึ่งต่างฝ่ายต่างก็ทวีความรุนแรงมากขึ้น รวมถึงวิธีที่ทั้งสองฝ่ายใช้ต่างก็เป็นการขัดต่อกฎหรือหลักปฏิบัติของตัวเองซึ่งตรงนี้หนังไม่ได้บอกเราตรง ๆ แต่ถูกนำเสนอผ่านการเล่าเรื่องอย่างแยบยล เราจะเห็นหญิงมุสลิมใช้ความได้เปรียบจากการไม่ถูกตรวจค้นร่างกายแอบซ่อนปืนไปให้ผู้ชายสังหาร เห็นมุสลิมซึ่งต้องแต่งตัวคลุมมิดชิดยอมแต่งตัวเป็นสาวยุโรปเพื่อจะได้ผ่านด่านตรวจไปวางระเบิดง่าย ๆ เราจะเห็นตำรวจยอมกระทั่งสร้างเหตุการณ์ให้รุนแรงขึ้นเพื่อทางรัฐบาลจะได้มอบอำนาจให้มากขึ้น
.
ซึ่งจะว่าไปหลังจบสงครามโลกครั้งที่ 2 จนเข้าสู่ยุคสงครามเย็น ก็เหมือนจะไม่มีหนังเรื่องไหนพูดถึงสงครามเย็นระหว่างอเมริกากับโซเวียตจัง ๆ เหมือน Dr. Strangelove, Or How I Learned to Stop Worrying and Love the Bomb (1964) ของสแตนลีย์ คูบริก หนังตลกร้ายเสียดสีสงครามที่เรื่องราวดูเป็นจริงและน่าเชื่อถือ แต่กลับเต็มไปด้วยตัวละครที่ไม่ให้ความรู้สึกว่าเป็นบุคคลระดับผู้นำในห้อง War Room หนังเปิดเรื่องด้วยข่าวลือว่าโซเวียตมีการแอบพัฒนาอาวุธทำลายล้างโลก ก่อนจะตามมาด้วยนายพลกองทัพอากาศมีคำสั่งใช้แผนโจมตีโซเวียตด้วยอาวุธนิวเคลียร์ ซึ่งที่จริงแล้วคนออกคำสั่งใช้นิวเคลียร์มีเพียงคนเดียวคือประธานาธิบดี แต่ก็มีกรณีฉุกเฉินอย่างเช่นแผนไว้ใช้สำหรับตอบโต้หากถูกรุกราน ซึ่งคนออกคำสั่งได้ก็คือนายพลกองทัพอากาศคนนี้
.
แล้วเอาจริง ๆ ในช่วงยุค 60's ยังมีหนังแบบ Zulu (1964) สร้างจากเรื่องจริงของกองทัพอังกฤษ 140 คนตั้งรับต้านชนเผ่าซูลูกว่า 4,000 คนเอาไว้ได้ หลังจากกองทัพอังกฤษกว่า 1,200 คนที่อิชิวานถูกชนเผ่าซูลูสังหารหมู่ยกกองทัพ พวกซูลูก็ตั้งใจนำกำลังคนกว่า 4,000 คนบุกมาถล่มที่มั่นเล็ก ๆ ที่มีกำลังคนแค่ 140 คนนับรวมคนเจ็บด้วย หลังจากซูลูถล่มหนึ่งวันเต็ม พวกเขาก็ต้องถอยหลังและยกย่องความกล้าหาญของทหารอังกฤษ ซึ่งหนังก็มาแนวแอ็คชั่นยืนหยัดสู้เต็มที่
.
เข้ายุค 70's ที่เขานับเป็นยุคทองของฮอลลีวูดก็มีหนังสงครามขึ้นหิ้งแบบ Patton (1970) ชีวประวัตินายพลแพตตัน นายทหารผู้ที่ถูกการเมืองเล่นงาน ตกเป็นเหยื่อของการเมืองอเมริกาที่ต้องการเอาใจอังกฤษและสนับสนุนแนวรบตะวันออกอย่างรัสเซียเพื่อชนะสงคราม แม้รูปแบบของหนังจะเป็นการยกย่องเชิดชูวีรบุรุษผู้อยู่เบื้องหลังชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ผู้กำกับเลือกจะตีความนำเสนอนายพลแพตตันให้เป็น วีรบุรุษที่มีทั้งคนชอบและชิงชัง ซึ่งก็ไม่น่าแปลกใจเพราะนายพลแพตตันเป็นทหารที่มากความสามารถในการยุทธวิธีการรบ, มีวินัยสูง, มีความกล้าหาญ ทั้งหมดนี้ล้วนแต่เป็นคุณสมบัติของผู้นำศึกที่ดี นอกจากนี้แล้วความที่นายพลแพตตันมีลักษณะของทหารที่มุ่งหวังให้ชาติได้รับชัยในสงครามเท่านั้น จึงทำให้เขาไม่สนใจเกมการเมืองของเบื้องบน
.
สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงครามเวียดนามตั้งแต่ปี 1965 ก่อนจะถอนตัวช่วงปี 1973-1975 แต่กว่าจะเริ่มมีหนังพูดถึงสงครามเวียดนามก็ประมาณ 3 ปีจากนั้นคือ Coming Home (1978) และ The Deer Hunter (1978) ที่ชนะรางวัลออสการ์ เรื่องหลังถูกโจมตีเยอะเหมือนกันเรื่องการสร้างภาพความเลวร้ายของเวียดนามในสงครามแบบเกินจริงเอามาก ๆ เพราะหนังสร้างภาพให้คนเวียดนามสนุกสนานกับการฆ่าคน ทั้งที่ความจริงคนเวียดนามฆ่าทหารอเมริกันเพราะไม่มีทางเลือก เป็นสงครามเพื่อปกป้องประเทศ กลายเป็นหนังที่ถูกโจมตีว่าผู้แพ้กำลังบิดเบือนประวัติศาสตร์ด้วยภาพยนตร์ แต่หนังกลับชนะ 5 รางวัลออสการ์
.
แต่ยังไม่ทันจะเข้า 80's ก็มีหนังของฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปล่า เรื่อง Apocalypse Now (1979) ที่เริ่มแสดงให้เห็นความจริงอีกด้านของสงครามเวียดนามว่าเป็นสงครามที่ชาวอเมริกันไม่ได้อยากมาร่วมรบ พวกเขามาแบบไม่มีจุดหมาย ตรงกันข้ามกับชาวเวียดนามที่ต้องสู้เพื่อปกป้องแผ่นดินเกิด
.
เข้าสู่ยุค 80's ก็เริ่มเห็นหนังพูดถึงทหารผ่านศึกที่ได้รับผลกระทบจากสงครามเวียดนาม หนึ่งในนั้นคือ First Blood (1982) หรือหนังแรมโบ้นั่นเอง จริง ๆ หลังสงครามเวียดนาม มาร์ติน สกอร์เซซี่ เคยทำ Taxi Driver ปี 1976 เรื่องนั้นก็มาก่อนกาลเหมือนกันในแง่ของการพูดถึงอาการ PTSD ความเครียดจากการผ่านเหตุการณ์ร้ายแรงในสงคราม ซึ่งใน First Blood สะท้อนภาพบาดแผลในใจของทหารผ่านศึกจากสงครามเวียดนามที่เคยได้รับการยอมรับในสงคราม ทว่าพอกลับมาบ้านเกิดกลับกลายเป็นคนไร้ค่า แล้วหนังก็ปรับคาแรคเตอร์ตัวละครจากในนิยายที่เป็นนักฆ่าเลือดเย็นให้กลายเป็นคนที่น่าเห็นใจเพราะเขาเป็นเหยื่อสงครามนั้นก็ถือเป็นทางเลือกที่เหมาะสมมาก ๆ
.
ยุคนี้ยังมีหนังสงครามขึ้นหิ้งอย่างเรื่อง Platoon (1986) ของโอลิเวอร์ สโตน ที่เอาประสบการณ์ตัวเองสมัยสงครามเวียดนามมาทำเป็นหนัง เล่ามุมมองสงครามเวียดนามผ่านพลทหารหน้าใหม่ที่เฝ้าแต่นับวันปลดประจำการ ดิ้นรนมีชีวิตรอดไปวัน ๆ พวกเขาแทบไม่รู้ตัวเองด้วยซ้ำว่ามารบเพื่ออะไร ทหารส่วนมากก็คือคนยากจน คนผิวดำไม่มีงานทำก็มาสมัครเป็นทหาร แล้วหนังมันก็นำเสนอภาพขัดแย้งอย่างสิ้นเชิงของทั้งสองฝ่าย ชาวเวียดนามที่ยอมระเบิดฆ่าตัวตายเพื่อแลกกับชีวิตทหารอเมริกา มันคือความต่างของการสู้เพื่อแผ่นดินตัวเองกับผู้มาเยือนที่มาเพราะสถานการณ์บีบบังคับ
.
อีกเรื่องในปีต่อมาคือ Full Metal Jacket (1987) ของสแตนลีย์ คูบริค ที่ให้เราได้เห็นการฝึกทหารก่อนไปเข้าร่วมสงครามเต็ม ๆ เกือบครึ่งเรื่อง แต่พอถึงสนามรบที่ฝึกมากลับเลื่อนลอยมาก อาวุธล้ำสมัยและการฝึกที่เข้มข้นยังไม่สามารถสู้แรงจูงใจของชาวเวียดนามที่รบเพื่อปกป้องแผ่นดินเกิด
.
แล้วถ้าจะปิดท้ายยุคนี้ต้องมี Born on the Fourth of July (1989) อีกเรื่องของโอลิเวอร์ สโตน ที่ยืนยันจุดยืนหนักแน่นว่าเขาต่อต้านสงคราม หนังสร้างจากเรื่องจริงของรอน โควิค (แสดงโดย ทอม ครูซ) ทหารผ่านศึกจากสงครามเวียดนามที่ได้รับบาดเจ็บจนอัมพาตท่อนล่าง และถึงแม้เขาจะได้รับเกียรติเรียกให้เป็นวีรบุรุษสงครามแต่สิ่งที่รัฐบาลและผู้คนปฏิบัติต่อเขามันไม่ใช่สิ่งที่คนควรปฏิบัติกับวีรบุรุษของประเทศแม้แต่นิดเดียว กระทั่งการรักษาพยาบาลยังเสื่อมโทรมสุด ๆ
.
หนังโจมตีการชวนเชื่อตั้งแต่เด็ก จากเด็กน้อยที่ชอบเล่นยิงปืนใฝ่ฝันอยากเป็นทหาร แม่ก็คาดหวังว่าเป็นทหารแล้วจะดี วันชาติพาไปดูขบวนพาเหรดเห็นทหารบาดเจ็บถึงขั้นพิการก็ยังเดินขบวนยิ้มแย้ม เห็นการโฆษณาชวนเชื่อให้สมัครเป็นทหาร พอโตมาสมัครเป็นนาวิกโยธินอาสาไปรบในสงครามเวียดนามด้วยความมุ่งมั่น แต่เมื่อไปเจอสงครามจริง ๆ ก็มีเรื่องให้รู้สึกผิดเป็นตราบาป ทั้งการยิงผู้บริสุทธิ์และการที่เขาคิดว่าเขาฆ่าเพื่อนตัวเองโดยไม่ตั้งใจ บาดเจ็บอัมพาตกลับมาก็ยังเชื่อว่าสงครามเวียดนามคือสิ่งที่ถูกต้อง เป็นหนังที่พาเราไปสำรวจทหารผ่านศึกจริง ๆ กว่าจะตาสว่างเห็นความเลวร้ายของสงครามก็ต้องล้างความเชื่อเก่า ๆ ให้หมด
.
อีกเรื่องที่เป็นตำนานคลาสสิกจากยุค 80's คือ Das Boot (1981) จริง ๆ โลกเรามีหนังเรือดำน้ำก่อนหน้านี้เยอะมาก แต่กว่าจะมีเรื่องที่คนยอมรับกันก็เรื่องนี้ เรื่องราวของเรือดำน้ำเยอรมัน U-96 ซึ่งต้องออกลาดตระเวนจมเรือขนส่งสินค้าหรือเรือรบข้าศึก เป็นหนังที่ทำออกมาสมจริงมาก ทั้งงานสร้างและยุทธวิธีการรบใต้น้ำ เป็นหนังเทสเครื่องเสียงของยุคนึงเลยเพราะมีพวกเสียงโซน่าร์ เสียงน้ำหยด เสียงเครื่องยนต์ เสียงไต่ระดับความลึก
-\-\-\-\-
อ่าน part 1 ยุค 30's - 50's ได้ที่: http://bit.ly/2tM5ZBo
longest driver 在 Nicole Chang Youtube 的最佳解答
Our schedules finally synced and we managed to plan our very first girls trip together! In Seoul, we experienced many highlights and memorable moments such as eating live octopus for the very first time, meeting super adorable alpacas and even a stinky taxi driver who pretended to be nice to us just to cheat our taxi fare money ? (should have whipped out my camera to vlog him!! sigh) This also marks my new LONGEST VLOG EVER, contemplated to divide this vlog into 2 episodes, but for me personally, I think watching an entire clip like that is very shiok and immersing ? Almost 30 mins man! Can be a proper episode on TV already ? Since you're here, remember to subscribe and turn on your notifications so you won't miss any future uploads xoxo
Friends I forced to be in my video:
Ripple: https://www.instagram.com/ripplesim
Kewei: https://www.instagram.com/keweitay
Cheron: https://www.instagram.com/muacher
Wanna be featured in my videos? Pop me an email at: nicolechangmin@gmail.com and I would to hear how we can work together and let our creative juices flow! (for collaboration/advertising opportunities)
Stalk me at:
Website: https://www.nicolechangmin.com
Instagram: https://www.instagram.com/nicolechangmin
Second IG: https://www.instagram.com/nicolechangmin.raw
Snapchat: @nicolechangmin
Facebook: https://www.facebook.com/nicolechangminofficial
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/yfZx_Z8Kq6Q/hqdefault.jpg)