新新人類,一定要能用新科技!
連月球隕石坑的計算,都可以用AI來幫忙。學習使用工具,原本就是人類進化的重要能力。AI絕對是人類進化最有力的工具之一,我們的新世代,一定要多多留意!有點子,也要有執行力!善用各種工具,執行更有效率。
https://technews.tw/2021/01/01/ai-moon-crater/
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過28萬的網紅ジェットダイスケ/JETDAISUKE,也在其Youtube影片中提到,使用機材などの説明は以下に↓↓↓↓ 2017年12月4日の0時47分にスーパームーンだったので撮影してきました。35mm判換算で1600mm相当もの超望遠レンズによる4K動画撮影、だけでなくさらにそこからフルHDに切り出し!( ^ω^ ) まずカメラボディはOLYMPUS E-M1 Mark ...
「moon crater」的推薦目錄:
- 關於moon crater 在 陳良基的創新筆記 Facebook 的最佳貼文
- 關於moon crater 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的精選貼文
- 關於moon crater 在 Travel with Winny 一起跟昀去旅行 Facebook 的最讚貼文
- 關於moon crater 在 ジェットダイスケ/JETDAISUKE Youtube 的精選貼文
- 關於moon crater 在 潘蔚能 Youtube 的最佳解答
- 關於moon crater 在 NASA | New Craters on the Moon - YouTube 的評價
- 關於moon crater 在 DeepMoon - Lunar Crater Counting Through Deep Learning 的評價
moon crater 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的精選貼文
"ข่าวใหญ่ด้านอวกาศ : นาซาพบหลักฐานว่ามี "น้ำ" อยู่บนดวงจันทร์"
หลังจากลุ้นกันว่า นาซ่าจะประกาศข่าวอะไรเมื่อคืน เกี่ยวกับการค้นพบครั้งใหม่ที่ "ดวงจันทร์" คำตอบที่เกินคาดก็คือ มีหลักฐานยืนยันอย่างเป็นทางการแล้วว่า บนดวงจันทร์ก็มี "น้ำ" อยู่เช่นกัน และจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการไปตั้งถิ่นฐานบนดวงจันทร์ในอนาคต
ระบบ โซเฟีย หรือ Stratospheric Observatory for Infrared Astronomy (หอดูดาวที่ชั้นบรรยากาศระดับสตราโตสเฟียร์ เพื่อดาราศาสตร์แสงอินฟราเรด SOFIA โซเฟีย) ได้ยืนยันเป็นครั้งแรกว่า เจอน้ำ จากพื้นผิวดวงจันทร์ด้านที่ถูกแสงแดดส่องกระทบ การค้นพบนี้แสดงว่าอาจจะมีน้ำกระจายอยู่ทั่วไป ไม่ใช่มีแต่เฉพาะตรงบริเวณที่เป็นเงามืดหนาวเย็น-ไม่ถูกแดดส่อง เท่านั้น
ระบบ SOFIA ซึ่งเป็นโครงการร่วมกันระหว่างนาซ่ากับศูนย์การบินอวกาศประเทศเยอรมนี ได้ตรวจพบโมเลกุลของน้ำที่เครเตอร์ (หลุมอุกกาบาต) เคลวิอุส Clavius Crater ซึ่งเป็นหนึ่งในเครเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดบนดวงจันทร์ที่มองเห็นจากโลก โดยอยู่ทางซีกล่างของดวงจันทร์
ก่อนหน้านี้ เคยมีการค้นพบโมเลกุลของธาตุไฮโดรเจนบ้างแล้ว แต่ไม่อาจจะแยกแยะได้ว่าเป็นน้ำ (H2O) หรือเป็นโมเลกุลของไฮดรอกซิล (hydroxyl, OH) กันแน่
แต่ข้อมูลจากการค้นพบนี้ระบุว่า ที่สมดังกล่าวมีน้ำอยู่ในความเข้มข้น 100 - 412 ส่วนในล้านส่วน เทียบเท่ากับมีน้ำขวด ประมาณ 355 มิลลิลิตร ฝังอยู่ในดินขนาด 1 ลูกบาศก์เมตร กระจายอยู่บนพื้นผิวของดวงจันทร์ ซึ่งผลการค้นพบเหล่านี้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร Nature Astronomy
หรือถ้าจะเปรียบเทียบกันง่ายๆ ทะเลทรายซาฮาร่านั้นมีน้ำอยู่มากกว่าที่ SOFIA ตรวจพบจากดินของดวงจันทร์ประมาณ 100 เท่า แต่ถึงแม้จะมีน้อย การค้นพบครั้งนี้ได้นำไปสู่คำถามใหญ่ว่า มีน้ำเกิดขึ้นบนดวงจันทร์ได้อย่างไร และทำไมมันถึงยังคงอยู่บนพื้นผิวที่ไม่มีอากาศเช่นนั้น
น้ำ เป็นทรัพยากรอันมีค่ายิ่งยวดในอากาศ แล้วเป็นองค์ประกอบสำคัญของสิ่งมีชีวิต (ในรูปแบบที่เรารู้จัก) ถึงแม้ว่าเรายังไม่รู้ว่าจะสามารถนำน้ำที่ SOFIA ค้นพบนี้มาใช้ได้โดยง่ายหรือไม่ แต่ก็หวังว่ามันจะมีส่วนช่วยเหลือโครงการ Artemis อาร์ทีมิส ของนาซ่า ที่จะส่งนักบินอวกาศหญิงคนแรก และนักบินอวกาศชายคนต่อไป ไปลงยังดวงจันทร์อีกครั้งในปี ค.ศ. 2024 นี้ เพื่อเตรียมการในการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์บนดวงจันทร์อย่างยั่งยืนในช่วงปลายของทศวรรษนี้
ผลที่ได้จาก SOFIA นี้ เป็นการต่อยอดผลการศึกษาในอดีตถึงการค้นหาน้ำบนดวงจันทร์ เช่น เมื่อนักบินอวกาศของยานอพอลโล Apollo ได้กลับมาจากดวงจันทร์เมื่อปี 1969 นั้นเป็นที่เชื่อกันว่าดวงจันทร์แห้งสนิท ไม่มีน้ำอยู่เลย
แต่โครงการอื่นๆ ที่ไปโคจรหรือลงกระแทกบนดวงจันทร์ ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา เช่นโครงการ Lunar Crater Observation and Sensing Satellite ได้ยืนยันว่าพบน้ำแข็งที่อยู่อย่างถาวร ในหลุมเครเตอร์ซึ่งไม่ถูกแสงแดดส่อง แถวๆ ขั้วโลกของดวงจันทร์
หลังจากนั้น ยานอวกาศอื่นๆ เช่น โครงการแคสซินี่ Cassini และโครงการ Deep Impact ของนาซ่า รวมไปถึงโครงการ จันทรายาน-1 Chandrayaan-1 ขององค์การอวกาศประเทศอินเดีย ตลอดจนระบบกล้องโทรทัศน์แสงอินฟราเรด (Infrared Telescope Facility) บนภาคพื้นดินของนาซ่า ได้ศึกษาพื้นผิวบนดวงจันทร์และพบหลักฐานของโมเลกุลที่มีไฮโดรเจนในบริเวณที่มีแสงส่องกระทบมากกว่าที่ขั้วของดวงจันทร์ แต่โครงการเหล่านั้นยังไม่สามารถจะแยกแยะได้อย่างชัดเจนว่า มันอยู่ในรูปของ H2O หรือ OH กันแน่
ระบบ SOFIA ทำให้เรามีวิธีการใหม่ที่จะใช้ศึกษาดวงจันทร์ ด้วยการนำเอาเครื่องบินโบอิ้ง 747SP ที่ติดกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 106 นิ้ว (2.7 เมตร) ขึ้นบินที่ความสูง 45,000 ฟุต (13.716 กิโลเมตร) เพื่อให้สูงเกินกว่าไอน้ำถึง 99% ของชั้นบรรยากาศโลก เราจะได้เห็นภาพของอวกาศในช่วงแสงอินฟราเรดได้ดีขึ้น ซึ่งจากกล้องโทรทัศน์พิเศษ ที่ชื่อว่า Faint Object infraRed CAmera for the SOFIA Telescope (FORCAST ฟอร์แคสต์) ระบบ SOFIA สามารถตรวจจับความยาวคลื่นที่จำเพาะต่อโมเลกุลของน้ำ คือ 6.1 ไมครอนได้ แล้วจึงทำให้สามารถค้นพบน้ำจากเครเตอร์เครเวียสได้ในที่สุด
คำถามที่ตามมาก็คือ ปกติแล้ว เมื่อไม่มีชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น น้ำที่อยู่บนพื้นผิวของดวงจันทร์สาดส่องก็ควรจะสลายหายไปเมื่อถูกแสงอาทิตย์สาดส่อง แล้วอะไรล่ะที่ทำให้มีน้ำเกิดขึ้นและถูกเก็บเอาไว้บนดวงจันทร์ได้
อาจเป็นไปได้ว่า พวกอุกกาบาตขนาดจิ๋ว (micrometeorite) จำนวนมากที่ตกลงสู่ผิวดวงจันทร์เหมือนห่าฝน ได้นำเอาน้ำปริมาณเล็กน้อยมาด้วย ทำให้เกิดการสะสมของน้ำบนพื้นผิวของดวงจันทร์หลังจากตกกระทบ
หรืออาจจะเกิดจาก 2 ขั้นตอน ที่กระแสลมสุริยะ (solar wind) จากดวงอาทิตย์ได้นำเอาไฮโดรเจนมาสู่พื้นผิวดวงจันทร์ แล้วเกิดปฏิกิริยาเคมีกับแร่ธาตุในดิน ที่มีออกซิเจนอยู่ เกิดเป็นโมเลกุลของไฮดรอดซิลเกิดขึ้น จากนั้นรังสีที่เกิดขึ้นจากห่าฝนของอุกกาบาตจิ๋วที่มาปะทะดวงจันทร์ อาจจะสามารถเปลี่ยนไฮดรอกซิลให้กลายเป็นน้ำได้
แล้วน้ำถูกกับเก็บอยู่บนนั้นได้อย่างไร ? น้ำอาจจะถูกกักเก็บอยู่ในโครงสร้างขนาดจิ๋วคล้ายเม็ดลูกปัดที่อยู่ในดิน ซึ่งเกิดขึ้นจากความร้อนสูงเมื่ออุกกาบาตจิ๋วตกกระทบดวงจันทร์ หรืออาจเป็นไปได้ว่าน้ำนั้นแทรกตัวอยู่ระหว่างเม็ดดินทรายบนดวงจันทร์ และถูกปกป้องเอาไว้จากแสงอาทิตย์ (ซึ่งถ้าเป็นแบบนี้ จะทำให้เอาน้ำออกมาใช้ได้ง่ายกว่ากรณีที่น้ำถูกจับอยู่ในโครงสร้างคล้ายลูกปัด)
จริงๆ แล้ว SOFIA ถูกออกแบบมาให้ใช้ในการศึกษาเทหวัตถุที่อยู่ไกลโพ้นและมีแสงน้อยมาก ดังเช่น หลุมดำ กระจุกดาว และกาแล็คซี่ โดยอาศัยดวงดาวต่างๆ เป็นเครื่องนำทาง ระบุตำแหน่งในการทำให้กล้องอยู่นิ่ง
แต่การนำมาศึกษาดวงจันทร์นั้น เป็นเรื่องที่ยากลำบาก เพราะมันอยู่ใกล้โลกและมีแสงสว่างมาก ทำให้ใช้ดวงดาวต่างๆ เป็นเครื่องบอกตำแหน่งไม่ได้ง่ายๆ จึงนำไปสู่การทดลองหาวิธีบินศึกษาดวงจันทร์เป็นครั้งแรก ในเดือนสิงหาคม ปี 2018 แต่ผลที่ได้ออกมานี้ (ที่ค้นพบน้ำ) เกินกว่าที่คาดไปมหาศาลมากนัก
ในเที่ยวบินรอบต่อๆ ไปของ SOFIA จะพยายามค้นหาน้ำบนผิวดวงจันทร์บริเวณอื่นๆ และในช่วงเวลาข้างขึ้นข้างแรมอื่นๆ เพื่อศึกษาเพิ่มว่า น้ำถูกสร้างขึ้น เก็บไว้ และเคลื่อนที่ไปบนดวงจันทร์ได้อย่างไร ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะถูกนำไปรวมกับโครงการศึกษาดวงจันทร์อื่นๆ ในอนาคต เช่น ยานโรเวอร์ Volatiles Investigating Polar Exploration Rover (VIPER ไวเปอร์) เพื่อสร้างแผนภูมิทรัพยากรน้ำบนดวงจันทร์ ขึ้นเป็นครั้งแรก สำหรับการสำรวจอวกาศของมนุษย์ในอนาคต
ในวารสาร Nature Astronomy ฉบับเดียวกันนี้ ยังมีการตีพิมพ์บทความวิจัยที่ใช้แบบจำลองต่างๆ ทางทฤษฎี และข้อมูลจากยาน Lunar Reconnaissance Orbiter ของนาซ่า มาระบุว่ามีน้ำถูกกักเก็บเอาไว้ภายในเงามืดเล็กๆ ซึ่งมีอุณหภูมิต่ำระดับเยือกแข็ง กระจายอยู่ทั่วดวงจันทร์ มากกว่าที่เคยคาดกันไว้
การค้นพบน้ำบนดวงจันทร์นี้มีความสำคัญมาก เพราะเป็นที่ทราบดีว่า น้ำเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ามาก ถ้าเราสามารถนำน้ำบนดวงจันทร์มาใช้ได้ ก็แปลว่าในการไปสำรวจดวงจันทร์ครั้งต่อๆ ไป เราก็จะจำเป็นต้องขนน้ำไปจากโลกด้วย ในปริมาณที่น้อยลง แล้วทำให้เราสามารถขนอุปกรณ์ไปศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ได้มากขึ้น
ดูคลิปวีดีโอประกอบการค้นพบ ได้ที่ https://go.nasa.gov/2TnDWSd
ภาพและข้อมูลจาก https://www.nasa.gov/press-release/nasa-s-sofia-discovers-water-on-sunlit-surface-of-moon/
moon crater 在 Travel with Winny 一起跟昀去旅行 Facebook 的最讚貼文
大家覺得滿月適合從事什麼活動呢🌕 有沒有想過可以靠滿月的光芒來爬活火山呢? 我們從晚上十一點開始爬尼加拉瓜的一座活火山- Telica 特利卡,早上九點才回到文明社會😝 又是上次又是一個把身體時鐘搞砸的活動😂
這座活火山最特殊的地方在於巨大的火山口🌋 直徑長七百公尺,深一百二十米,使站在旁邊的我們有夠渺小! 雖然最後一次爆發是 1948年,但從那次之後就一直冒煙♨️ 運氣好的話可以看到火山口裡面紅色的熔漿,可惜我們這次沒那麼好運😭
原本以為在晚上健行會涼快一些,結果整趟像是在桑拿一樣,流汗多到我以為我的背包那麼濕是因為水壺漏水😑 凌晨四點登頂後風又超大,身體冷卻後整個凍的要死,又睏又累,簡直是酷刑💀 Ps. 我們的導遊是個瘋子,他抓了三隻野生的蛇給我們觸摸...🐍 還徒手抓了蠍子,巨大牛蛙,某種鳥給我們看.... 使這趟旅程一點都不會無趣😂 #尼加拉瓜 #活火山 #半夜不睡覺跑來受罪
Never thought we would hike up an active volcano underneath the full moon🌕 We started the hike at 11pm and ended at 9am😝 What a way to screw up our body clock AGAIN😅 Our guide found 3 snakes (I held one), tarantula, owl, honesty I saw more wild life than I did in Amazon forest 😂
Telica Volcano is an active volcano 30KM from Leon🌋 With an enormous crater measuring 120m deep and 700m in diameter 😲 The latest eruption was in 1948 but it's been smoking ever since♨️ We were suppose to see lava underneath the crater but it rained two days ago so it was super smoky 😆
Nevertheless York is so glad that this is our last volcano hike 😂 The temperature in Leon in May is CRAZY!!! 30℃ even at night with humidity, we were soaked with sweat while walking up but super cold while waiting for the sunrise 🌄 Another album with heaps of photos just so that we won't forget the details of our trip😊 #nicaragua #volcanohike #backpackinghoneymoon
================
🌏 FB最近觸擊率持續下降,所以請把 #TravelwithWinny 設定成「搶先看」才不會錯過精彩旅程😉
📚 請支持 Winny 新書👉 http://goo.gl/RYPSTp
📷 追蹤 IG @travelwithwinny
💻 部落格 www.travelwithwinny
🎥 YouTube 頻道👉 https://goo.gl/xjR1eD
moon crater 在 ジェットダイスケ/JETDAISUKE Youtube 的精選貼文
使用機材などの説明は以下に↓↓↓↓
2017年12月4日の0時47分にスーパームーンだったので撮影してきました。35mm判換算で1600mm相当もの超望遠レンズによる4K動画撮影、だけでなくさらにそこからフルHDに切り出し!( ^ω^ )
まずカメラボディはOLYMPUS E-M1 Mark II → http://amzn.to/2ictUAw マイクロフォーサーズだからフルサイズ比で2倍の焦点距離を稼げる!
そしてレンズには我が家でいちばん長いキヤノンの EF100-400mm F4.5-5.6L IS II USM を使用→ http://amzn.to/2idH00I この望遠端を使いました。
そして、さらに2倍テレコン Canon エクステンダー EF2X III → http://amzn.to/2BEo1Vf を使用することで、35mm判換算で1600mm相当に!
これらキヤノン用レンズと、マイクロフォーサーズのボディを接続するために使用したのが焦点工房 KIPON EF-MFT AF II キヤノンEOS/EFマウントレンズ → マイクロフォーサーズ電子マウントアダプター (2017年モデル) → http://amzn.to/2ASMzwR 以上により4K動画を撮影
さらにその4K動画をダウンコンバートせずに、フルHD動画として切り出したので、焦点距離としては35mm判換算で3200mm相当となります( ^ω^ )
あ、でも16:9の動画だから正確にはもっと焦点距離は長いってことか!なんだかよくわかんないけど、とにかくデカく撮影できて満足でっす( ^ω^ )( ^ω^ )( ^ω^ )
※購入リンクはAmazonアソシエイトリンクを使用しております。
YouTubeチャンネル登録はこちら→ http://www.youtube.com/user/jetdaisuke?sub_confirmation=1
インスタグラム→ https://instagram.com/jetdaisuke/ ♪(´ε` )
ツイッター→ https://twitter.com/jetdaisuke ( ^ω^ )
Medium → https://medium.com/@jetdaisuke (≧∇≦)
著書「YouTubeで食べていく」http://amzn.to/2iZav4o 光文社新書刊
【最後まで読んでくれた律儀な皆さんに一言】
あー寒かった!まじで手がかじかんで寒かった!でも綺麗に撮れて良かった #ジェットダイスケ #Vlog
moon crater 在 潘蔚能 Youtube 的最佳解答
去夏威夷重頭戲當然睇活火山!呢個 Kilauea, Hawaii 火山今年9月至爆過 ( 其實就成日都爆 )。我地去到 Halemaumau Crater 火山口時,導遊話我地好好彩 (唔知係米氹我地?)佢話平時睇到白煙多,今日嘅岩漿活動非常活躍,不時見到溶岩噴上嚟。唔通super moon 引力關係?
moon crater 在 DeepMoon - Lunar Crater Counting Through Deep Learning 的推薦與評價
Convolutional neural network code for extracting Lunar craters from Digital Elevation Maps (DEMs). - GitHub - silburt/DeepMoon: Convolutional neural network ... ... <看更多>
moon crater 在 NASA | New Craters on the Moon - YouTube 的推薦與評價
Planetary scientists believe that small impacts regularly bombard the Moon, but until recently, they've had no way to distinguish new ... ... <看更多>