#โปรแกรมเมอร์ เก็บ Password แบบไหน? ถึงจะปลอดภัย
ในทางโปรแกรมมิ่งการเก็บ password ลงฐานข้อมูล (Database) ไม่ได้เก็บกันตรงโต้งๆ ไม่งั้นใครมาเห็นก็อ่านได้หมด ซวยกันพอดี
:
วิธีเก็บ password ที่ปลอดภัย
จะนำมาผ่าน Hash function เสียก่อน เช่น
hash("1234") ได้คำตอบออกมาเป็น
a591a6d40bf420404a011733cfb7b190d62c65bf0bcda32b57b277d9
:
หน้าที่ hash function จะแปลงพาสเวิร์ด "1234"
เป็นข้อความลับอะไรซักอย่างที่อ่านไม่ออก
ทั้งนี้ขนาดข้อความที่ได้จาก hash function จะคงที่ (fixed size)
:
สำหรับค่าที่ได้จาก Hash function มีหลายชื่อให้เรียกขาน เช่น
hash values, hash codes, digests
แต่ผมจะเรียกสั้นๆ ว่า "ค่า hash" แล้วกัน
:
ส่วนฟังก์ชั่นที่ใช้เป็น Hash function ในโลกนี้มีหลายตัว เช่น
MD5, SHA256, SHA512, RipeMD, WHIRLPOOL เป็นต้น
:
+++++
👉 ตัดกลับมาตอนนี้เราเก็บ password ในฐานข้อมูลเป็นค่า hash แล้วเวลายูสเซอร์ล็อกอินกรอก user name ป้อน password เข้ามาในระบบ
.
ก็จะมีสเตปการตรวจสอบ password ประมาณเนี่ย
.
1) ระบบจะเอา password มาเข้า hash funcion ได้เป็นค่า hash
2) เอาค่า hash ในข้อ 1 ไปเทียบดูในฐานข้อมูล (ของยูสเซอร์นั้น)
3) ถ้าค่าตรงกันแสดงว่ายูสเซอร์ป้อน password ได้ถูกต้อง แสดงว่าล็อกอินสำเร็จ
:
👉 เหตุผลที่ hash function มัน ok เพราะอาศัยคุณสมบัติดังนี้
1) hash function มันทำงานทางเดียว (one-way)
หมายถึงเราไม่สามารถนำค่า hash มาย้อนหาข้อความต้นฉบับได้เลย
.
ในกรณีนี้ต่อให้ hacker เห็นค่า hash เขาจะไม่สามารถถอดกลับ
มาเป็น "1234" ได้เลย
.
ด้วยเหตุนี้ค่า hash บางทีเขาจึงเรียกว่า "message digest" หมายถึง "ข้อความที่ย่อยสลาย" ...จนไม่รู้ต้นฉบับหน้าตาเป็นแบบไหนแล้ว
:
2) ถ้าข้อความต้นฉบับหน้าตาเดียวกันเป๊ะทุกกะเบียดนิ้ว
เวลาผ่าน hash function จะได้ค่า hash เหมือนเดิม
พอเปลี่ยนข้อความต้นฉบับนิดหนึ่ง
แม่เจ้า ....ค่า hash เปลี่ยนไปราวฟ้ากับเหว ต่างกันมาก
.
จึงเป็นไปไม่ได้ที่เราจะเก็บ password ต่างกัน
แล้วได้ค่า hash เดียวกัน ...เป็นไปไม่ด้ายยยย
(ไม่มีการชนกันหรือ crash)
:
+++++
👉 เพราะข้อดีของ hash function ที่ยกมา
เวลาเก็บ password ลงฐานข้อมูล จึงควรเปลี่ยนไปใช้ค่า hash แทน
.
รับรองได้ว่าต่อให้ hacker เจาะระบบเข้ามาได้ (กรณีเลวร้ายสุดๆ แหละ)
...แล้วอ่าน password ที่ถูกเข้ารหัส ก็จะอ่านไม่รู้เรื่อง
...ต่อให้พยายามถอดกลับมาเป็นข้อความต้นฉบับ ก็ทำไม่ได้นะจ๊ะ
:
ฟังเหมือนปลอดภัยนะ ถ้าเก็บรักษา password ด้วยวิธี hash function แต่ทว่า hacker ก็ยังสามารถใช้วิธีเดาสุ่มหา password ได้อยู่ดี ...ไม่ยากด้วย ขอบอกเลย
:
👉 ยกตัวอย่างง่ายๆ วิธี hack พาสเวิร์ดเบสิกสุดๆ
- ให้คิดว่าตอนนี้ hacker เจาะระบบเข้าไปอ่าน password ในฐานข้อมูลได้แล้ว
- จากนั้น hacker จะมองหาค่า hash (ของ password) ในฐานข้อมูลที่ซ้ำๆ กันอยู่
- นั่นหมายถึงเจอยูสเซอร์ใช้ password ซ้ำกัน จึงเจอค่า hash ซ้ำกันนั่นเอง
- แล้วการที่ยูสเซอร์ใช้ซ้ำ แสดงว่ามันเป็น password ง่ายนะซิ เช่น
123456, 1111, Baseball, Qwerty, password
.
ดังนั้น hacker ก็แค่ค้นหาในตาราง
ตารางที่ว่าจะเก็บ password พร้อมค่า hash
(เก็บพวก password ที่คนใช้กันเยอะ)
ซึ่ง hacker ก็จะค้นหาหาในตารางดังกล่าว
แบบไล่สุ่มไปเรื่อยๆ เดี่ยวก็เจอไม่ยาก
:
++++
👉 ก็เพราะเหตุนี้จึงต้องหาวิธีแก้ทาง hacker
ให้เดาสุ่มหา password มันทวีความยุ่งยากไปอีก
(จุดประสงค์ป้องเทคนิคพวกเดาสุ่ม เช่น
dictionary attacks, Brute Force Attacks, Lookup Tables,
Reverse Lookup Tables, Rainbow Tables)
:
👉 สำหรับวิธีการป้องกัน ก็จะทำประมาณเนี่ย
ก่อนที่จะเก็บ password ลงฐานข้อมูล ระบบจะต้องทำเยี่ยงนี้
1) จะนำ password มากบวกกับค่า salt
2) จากนั้นนำค่าที่ได้จากข้อ 1 มาเข้า hash function
แล้วเก็บค่า hash ที่ได้ลงฐานข้อมูล
.
ขออธิบายข้อ 2 เพิ่มเติม
จากเดิมเราเรียกใช้ hash function เช่น
hash("1234")
แต่เราจะเปลี่ยนมาเรียก
hash("1234" + "QxLUF1bgIAdeQX")
hash("1234" + "bv5PehSMfV11Cd")
hash("1234" + "YYLmfY6IehjZMQ")
.
ซึ่ง "QxLUF1bgIAdeQX", "bv5PehSMfV11Cd", "YYLmfY6IehjZMQ" ที่ยกตัวอย่าง
มันก็คือค่า "salt" (ที่แปลว่า "เกลือ")
เป็นค่า radom ที่แจกให้แต่ละยูสเซอร์ ไม่ซ้ำกันเลย
เราจะนำมาบวกกับ password ก่อนเข้า hash function
:
เวลาเก็บ password ในฐานข้อมูล
แต่ละยูสเซอร์จะต้องเก็บทั้งค่า hash กับ salt เอาไว้
.
👉 พอเวลายูสเซอร์ล็อกอินใส่ user name / password
1) ระบบก็เอา password มาบวกกับ salt
(แต่ละยูสเซอร์เก็บค่า salt คนละค่า)
2) นำค่าที่ได้จากข้อ 1 มาเข้า hash funcion
3) นำค่าที่ได้จากข้อ 2 ไปเปรียบเทียบกับ ค่า hash ในฐานข้อมูล
4) ถ้าตรงกันแสดงว่ายูสเซอร์ป้อน password ถูกต้อง แสดงว่าล็อกอินสำเร็จ
..
แต่มีข้อแม้ hash function ที่ควรใช้ได้แก่
Argon2, bcrypt, scrypt ($2y$, $5$, $6$), หรือ PBKDF2
มันถึงจะปลอดภัย ทำให้การเดาสุ่มหา password ทำได้ยากขึ้น
.
ส่วนพวก hash function ที่ทำงานได้รวดเร็ว เช่น
MD5, SHA1, SHA256, SHA512, RipeMD, WHIRLPOOL, SHA3, etc.
เนี่ยห้ามใช้นะครับ
หรืออย่าง crypt (เวอร์ชั่น $1$, $2$, $2x$, $3$) ก็ไม่ห้ามใช้นะครับ
:
+++++
👉 ในแง่การเขียนโปรแกรม
เข้าใจว่าแต่ละภาษาโปรแกรมมิ่ง หรือพวกเฟรมเวิร์ค
เขาคงเตรียมไลบรารี่ หรือเครื่องมือ
เอาไว้ให้ใช้ hash function รวมกับค่า salt อยู่แล้ว
เราสามารถเปิดคู่มือ แล้วทำตามได้เลยครับ
:
++++
👉 ย้ำที่อธิบายทั้งหมดนี้
เป็นการป้องกันการเจาะระบบฝั่งแอพ หรือระบบเท่านั้น
hacker ยังสามารถเดาสุ่มป้อน password
ได้โดยตรงที่หน้าแอพ หรือฝั่งล็อกอินหน้าโปรแกรมได้เลย (Brute Force Attacks)
.
ทางที่ดีระบบต้องเช็กว่าถ้ายูสเซอร์กรอก password ผิดติดต่อกันกี่ครั้ง?
ถึงจะระงับการใช้ user name นี้ชั่วคราว หรือจะแบน IP ที่ล็อกอินเข้ามาไปเลยก็ยังได้
.
ยิ่งถ้าเป็นการล็อกอินผ่านเว็บไซต์
ก็ควรให้เว็บเราใช้โปรโตคอล https ขืนไปใช้ http ธรรมดา
โอกาสเจอ hacker ดักจับ user name/ passwod กลางทางมีสูงมาก
.
เว้นแต่เราจะใช้เทคนิค Digest Access Authentication เข้าช่วย
ทำให้การส่ง user name/password ผ่าน http ธรรมดาได้อย่างปลอดภัย (แต่โค้ดดิ่งก็จะยุ่งยากตาม)
:
+++
😁 สรุป
1) เก็บพาสเวิร์ดตรงๆ โดยไม่เข้ารหัส -> hacker ชอบนักแล
2) เก็บพาสเวิร์ดโดยเข้ารหัสในรูป Hash values -> hacker อ่านไม่ออกก็จริง แต่ไม่ยากที่จะเดา password
3) เก็บพาสเวิร์ดโดยเข้ารหัสในรูป Hash values + salt vaues
-> hacker อ่านไม่ออก ต่อให้ไปเดาสุ่ม ก็จะทำได้ยากขึ้น
จุดประสงค์ข้อ 3 นี้เพื่อป้องกันด้วยเทคนิค ..... dictionary attacks, Brute Force Attacks, Lookup Tables, Reverse Lookup Tables, Rainbow Table
.
สุดท้ายขอจบเรื่อง hash funcion กับ password
ให้รอดพ้นจาก hacker ไว้เพียงเท่านั้น
หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อทุกท่านนะครับ
.
++++++
เขียนโดย โปรแกรมเมอร์ไทย thai programmer
อ้างอิง
https://crackstation.net/hashing-security.htm
https://en.wikipedia.org/wiki/Hash_function
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「one-way hash function」的推薦目錄:
- 關於one-way hash function 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最佳貼文
- 關於one-way hash function 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的精選貼文
- 關於one-way hash function 在 寫點科普 Facebook 的最讚貼文
- 關於one-way hash function 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答
- 關於one-way hash function 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
- 關於one-way hash function 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
one-way hash function 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的精選貼文
#โปรแกรมเมอร์ เก็บ Password แบบไหน? ถึงจะปลอดภัย
ในทางโปรแกรมมิ่งการเก็บ password ลงฐานข้อมูล (Database) ไม่ได้เก็บกันตรงโต้งๆ ไม่งั้นใครมาเห็นก็อ่านได้หมด ซวยกันพอดี
:
วิธีเก็บ password ที่ปลอดภัย
จะนำมาผ่าน Hash function เสียก่อน เช่น
hash("1234") ได้คำตอบออกมาเป็น
a591a6d40bf420404a011733cfb7b190d62c65bf0bcda32b57b277d9
:
หน้าที่ hash function จะแปลงพาสเวิร์ด "1234"
เป็นข้อความลับอะไรซักอย่างที่อ่านไม่ออก
ทั้งนี้ขนาดข้อความที่ได้จาก hash function จะคงที่ (fixed size)
:
สำหรับค่าที่ได้จาก Hash function มีหลายชื่อให้เรียกขาน เช่น
hash values, hash codes, digests
แต่ผมจะเรียกสั้นๆ ว่า "ค่า hash" แล้วกัน
:
ส่วนฟังก์ชั่นที่ใช้เป็น Hash function ในโลกนี้มีหลายตัว เช่น
MD5, SHA256, SHA512, RipeMD, WHIRLPOOL เป็นต้น
:
+++++
👉 ตัดกลับมาตอนนี้เราเก็บ password ในฐานข้อมูลเป็นค่า hash แล้วเวลายูสเซอร์ล็อกอินกรอก user name ป้อน password เข้ามาในระบบ
.
ก็จะมีสเตปการตรวจสอบ password ประมาณเนี่ย
.
1) ระบบจะเอา password มาเข้า hash funcion ได้เป็นค่า hash
2) เอาค่า hash ในข้อ 1 ไปเทียบดูในฐานข้อมูล (ของยูสเซอร์นั้น)
3) ถ้าค่าตรงกันแสดงว่ายูสเซอร์ป้อน password ได้ถูกต้อง แสดงว่าล็อกอินสำเร็จ
:
👉 เหตุผลที่ hash function มัน ok เพราะอาศัยคุณสมบัติดังนี้
1) hash function มันทำงานทางเดียว (one-way)
หมายถึงเราไม่สามารถนำค่า hash มาย้อนหาข้อความต้นฉบับได้เลย
.
ในกรณีนี้ต่อให้ hacker เห็นค่า hash เขาจะไม่สามารถถอดกลับ
มาเป็น "1234" ได้เลย
.
ด้วยเหตุนี้ค่า hash บางทีเขาจึงเรียกว่า "message digest" หมายถึง "ข้อความที่ย่อยสลาย" ...จนไม่รู้ต้นฉบับหน้าตาเป็นแบบไหนแล้ว
:
2) ถ้าข้อความต้นฉบับหน้าตาเดียวกันเป๊ะทุกกะเบียดนิ้ว
เวลาผ่าน hash function จะได้ค่า hash เหมือนเดิม
พอเปลี่ยนข้อความต้นฉบับนิดหนึ่ง
แม่เจ้า ....ค่า hash เปลี่ยนไปราวฟ้ากับเหว ต่างกันมาก
.
จึงเป็นไปไม่ได้ที่เราจะเก็บ password ต่างกัน
แล้วได้ค่า hash เดียวกัน ...เป็นไปไม่ด้ายยยย
(ไม่มีการชนกันหรือ crash)
:
+++++
👉 เพราะข้อดีของ hash function ที่ยกมา
เวลาเก็บ password ลงฐานข้อมูล จึงควรเปลี่ยนไปใช้ค่า hash แทน
.
รับรองได้ว่าต่อให้ hacker เจาะระบบเข้ามาได้ (กรณีเลวร้ายสุดๆ แหละ)
...แล้วอ่าน password ที่ถูกเข้ารหัส ก็จะอ่านไม่รู้เรื่อง
...ต่อให้พยายามถอดกลับมาเป็นข้อความต้นฉบับ ก็ทำไม่ได้นะจ๊ะ
:
ฟังเหมือนปลอดภัยนะ ถ้าเก็บรักษา password ด้วยวิธี hash function แต่ทว่า hacker ก็ยังสามารถใช้วิธีเดาสุ่มหา password ได้อยู่ดี ...ไม่ยากด้วย ขอบอกเลย
:
👉 ยกตัวอย่างง่ายๆ วิธี hack พาสเวิร์ดเบสิกสุดๆ
- ให้คิดว่าตอนนี้ hacker เจาะระบบเข้าไปอ่าน password ในฐานข้อมูลได้แล้ว
- จากนั้น hacker จะมองหาค่า hash (ของ password) ในฐานข้อมูลที่ซ้ำๆ กันอยู่
- นั่นหมายถึงเจอยูสเซอร์ใช้ password ซ้ำกัน จึงเจอค่า hash ซ้ำกันนั่นเอง
- แล้วการที่ยูสเซอร์ใช้ซ้ำ แสดงว่ามันเป็น password ง่ายนะซิ เช่น
123456, 1111, Baseball, Qwerty, password
.
ดังนั้น hacker ก็แค่ค้นหาในตาราง
ตารางที่ว่าจะเก็บ password พร้อมค่า hash
(เก็บพวก password ที่คนใช้กันเยอะ)
ซึ่ง hacker ก็จะค้นหาหาในตารางดังกล่าว
แบบไล่สุ่มไปเรื่อยๆ เดี่ยวก็เจอไม่ยาก
:
++++
👉 ก็เพราะเหตุนี้จึงต้องหาวิธีแก้ทาง hacker
ให้เดาสุ่มหา password มันทวีความยุ่งยากไปอีก
(จุดประสงค์ป้องเทคนิคพวกเดาสุ่ม เช่น
dictionary attacks, Brute Force Attacks, Lookup Tables,
Reverse Lookup Tables, Rainbow Tables)
:
👉 สำหรับวิธีการป้องกัน ก็จะทำประมาณเนี่ย
ก่อนที่จะเก็บ password ลงฐานข้อมูล ระบบจะต้องทำเยี่ยงนี้
1) จะนำ password มากบวกกับค่า salt
2) จากนั้นนำค่าที่ได้จากข้อ 1 มาเข้า hash function
แล้วเก็บค่า hash ที่ได้ลงฐานข้อมูล
.
ขออธิบายข้อ 2 เพิ่มเติม
จากเดิมเราเรียกใช้ hash function เช่น
hash("1234")
แต่เราจะเปลี่ยนมาเรียก
hash("1234" + "QxLUF1bgIAdeQX")
hash("1234" + "bv5PehSMfV11Cd")
hash("1234" + "YYLmfY6IehjZMQ")
.
ซึ่ง "QxLUF1bgIAdeQX", "bv5PehSMfV11Cd", "YYLmfY6IehjZMQ" ที่ยกตัวอย่าง
มันก็คือค่า "salt" (ที่แปลว่า "เกลือ")
เป็นค่า radom ที่แจกให้แต่ละยูสเซอร์ ไม่ซ้ำกันเลย
เราจะนำมาบวกกับ password ก่อนเข้า hash function
:
เวลาเก็บ password ในฐานข้อมูล
แต่ละยูสเซอร์จะต้องเก็บทั้งค่า hash กับ salt เอาไว้
.
👉 พอเวลายูสเซอร์ล็อกอินใส่ user name / password
1) ระบบก็เอา password มาบวกกับ salt
(แต่ละยูสเซอร์เก็บค่า salt คนละค่า)
2) นำค่าที่ได้จากข้อ 1 มาเข้า hash funcion
3) นำค่าที่ได้จากข้อ 2 ไปเปรียบเทียบกับ ค่า hash ในฐานข้อมูล
4) ถ้าตรงกันแสดงว่ายูสเซอร์ป้อน password ถูกต้อง แสดงว่าล็อกอินสำเร็จ
..
แต่มีข้อแม้ hash function ที่ควรใช้ได้แก่
Argon2, bcrypt, scrypt ($2y$, $5$, $6$), หรือ PBKDF2
มันถึงจะปลอดภัย ทำให้การเดาสุ่มหา password ทำได้ยากขึ้น
.
ส่วนพวก hash function ที่ทำงานได้รวดเร็ว เช่น
MD5, SHA1, SHA256, SHA512, RipeMD, WHIRLPOOL, SHA3, etc.
เนี่ยห้ามใช้นะครับ
หรืออย่าง crypt (เวอร์ชั่น $1$, $2$, $2x$, $3$) ก็ไม่ห้ามใช้นะครับ
:
+++++
👉 ในแง่การเขียนโปรแกรม
เข้าใจว่าแต่ละภาษาโปรแกรมมิ่ง หรือพวกเฟรมเวิร์ค
เขาคงเตรียมไลบรารี่ หรือเครื่องมือ
เอาไว้ให้ใช้ hash function รวมกับค่า salt อยู่แล้ว
เราสามารถเปิดคู่มือ แล้วทำตามได้เลยครับ
:
++++
👉 ย้ำที่อธิบายทั้งหมดนี้
เป็นการป้องกันการเจาะระบบฝั่งแอพ หรือระบบเท่านั้น
hacker ยังสามารถเดาสุ่มป้อน password
ได้โดยตรงที่หน้าแอพ หรือฝั่งล็อกอินหน้าโปรแกรมได้เลย (Brute Force Attacks)
.
ทางที่ดีระบบต้องเช็กว่าถ้ายูสเซอร์กรอก password ผิดติดต่อกันกี่ครั้ง?
ถึงจะระงับการใช้ user name นี้ชั่วคราว หรือจะแบน IP ที่ล็อกอินเข้ามาไปเลยก็ยังได้
.
ยิ่งถ้าเป็นการล็อกอินผ่านเว็บไซต์
ก็ควรให้เว็บเราใช้โปรโตคอล https ขืนไปใช้ http ธรรมดา
โอกาสเจอ hacker ดักจับ user name/ passwod กลางทางมีสูงมาก
.
เว้นแต่เราจะใช้เทคนิค Digest Access Authentication เข้าช่วย
ทำให้การส่ง user name/password ผ่าน http ธรรมดาได้อย่างปลอดภัย (แต่โค้ดดิ่งก็จะยุ่งยากตาม)
:
+++
😁 สรุป
1) เก็บพาสเวิร์ดตรงๆ โดยไม่เข้ารหัส -> hacker ชอบนักแล
2) เก็บพาสเวิร์ดโดยเข้ารหัสในรูป Hash values -> hacker อ่านไม่ออกก็จริง แต่ไม่ยากที่จะเดา password
3) เก็บพาสเวิร์ดโดยเข้ารหัสในรูป Hash values + salt vaues
-> hacker อ่านไม่ออก ต่อให้ไปเดาสุ่ม ก็จะทำได้ยากขึ้น
จุดประสงค์ข้อ 3 นี้เพื่อป้องกันด้วยเทคนิค ..... dictionary attacks, Brute Force Attacks, Lookup Tables, Reverse Lookup Tables, Rainbow Table
.
สุดท้ายขอจบเรื่อง hash funcion กับ password
ให้รอดพ้นจาก hacker ไว้เพียงเท่านั้น
หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อทุกท่านนะครับ
.
++++++
เขียนโดย โปรแกรมเมอร์ไทย thai programmer
อ้างอิง
https://crackstation.net/hashing-security.htm
https://en.wikipedia.org/wiki/Hash_function
one-way hash function 在 寫點科普 Facebook 的最讚貼文
【SHA-1首度被Google破解了!】
SHA-1 (Secure Hash Algorithm-1, 安全雜湊演算法),是一種用來加密的演算法,最主要的用途是數位簽章、SSL憑證等。
如果我們下載一份文件,發現「原文件」和「下載文件」的數位簽章不同,就表示這份文件很有可能已遭到竄改或含有病毒!
😨 SHAttered attack 😨
Google在日前釋出了兩個含有不同內容、卻擁有相同數位簽章的PDF檔案,表示:安安我們成功破解SHA-1了!雖然耗費9,223,372,036,854,775,808次的碰撞... (碰撞見下述解釋)
SHA-1在很久以前就已被提出有漏洞,Google早在2015年就宣布逐步停止使用。只是Google費時近兩年、又花了一堆運算資源才在今年初成功破解SHA-1。
即便如此,需要的力氣也已遠低於當初的預期了;所以SHA-2, SHA-3以上的安全性更是遠遠高於SHA-1的,有運算資源大概也破不了。
那一般使用者該怎麼預防呢?Google官方做了個懶人包表示:
1. 使用SHA-3等加密能力更強的雜湊函數
2. 使用 shattered.io 網站上傳測試文件是否安全。
3. 使用Googe的產品 (絕對是安全的拉!)
🙃 雜湊函數 (Hash function) 防止訊息被竄改 🙃
原有的訊息經過雜湊函數,能簡化出一個「雜湊值」,也稱「訊息指紋」(message fingerprint),因此將資料量變得很小且具有固定大小。
SHA-1是基於下述目的,被開發出來的雜湊函數:
1. 「不可逆性 (One-Way Function)」:可以由訊息計算出雜湊值,但無法由雜湊值反向還原成原訊息。
2. 「碰撞抵抗力 (Collision Resistance)」:任兩組不同的訊息,雜湊值是不相同的。
🤡 傳送門 🤡
👉 Google發表破解SHA-1:https://goo.gl/BorJZl
👉 瀏覽器棄用SHA-1:https://goo.gl/cHN63f
👉 官方懶人包:https://goo.gl/sRDw7b