#拎娘海外
㊣ 收聽傳送門:https://mmmw.pse.is/F-38
一個讓 Katy Perry、Prada、Gucci都被譴責的原因?就是這集有跟大家提到的「Black Face」
其實呢「黑臉」的起源於美國勞工階級,當中的白人是「黑臉」的主要表演者,因為他們其實深受非裔美國文化,表演透過誇張的表演來做出與高階級白人與品味區別,某種程度上,這是一個殖民文化與崛起娛樂文化時的一種文化產物。
但以內容面來說,黑臉角色長期定位於「滑稽、可笑」的內容,娛樂的對象則是那些有錢ㄉ白人,且為美國黑奴時代的產物,因此在當代美國是把這段歷史視為荒謬的歧視。
而在當今政治正確至上的美國,任何這些的符號操弄可能都會點燃戰火,而上面的圖就是實際的範例~
---
資料參考:芭樂人類學、Wiki
---
㊮ 贊助口愛ㄉ拎娘 (*ˇωˇ*人) https://mmmw.pse.is/Funds
㊯ 哪裡可以聽拎娘 (๑ơ ₃ ơ)つ https://allmy.bio/mmmw-b
---
#美國 #UCLA #博士 #歧視 #塗黑臉 #LA #洛杉磯 #反智 #自由 #台灣 #多元 #民主 #BLM #貧富差距 #社區大學 #亞洲文化 #早安拎娘 #中文Podcast #台灣Podcast
ucla wiki 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的最佳解答
หลุมดำมวลยิ่งยวด ณ ใจกลางกาแล็กซี
*******************
หลุมดำมวลยิ่งยวด ณ ใจกลางกาแล็กซี(4/6)
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของซีรีส์บทความ 6 ตอน ที่เราจะมาทำความรู้จักกันกับทฤษฎีที่เกี่ยวกับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี 2020 ที่มอบให้แก่ Roger Penrose, Reinhard Genzel และ Andrea Ghez หรือเรื่องที่น่าสนใจที่เกี่ยวข้องกับผู้ได้รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปีนี้ โดยจะมีอยู่ด้วยกันหกตอน ได้แก่
1. ซิงกูลาริตี้ หรือสภาวะเอกฐาน[3]
2. ขอบฟ้าเหตุการณ์ และ cosmic censorship hypothesis[4]
3. ปริภูมิเวลาของดาวฤกษ์ที่ยุบตัวลงเป็นหลุมดำ[5]
4. หลุมดำมวลยิ่งยวด ณ ใจกลางกาแล็กซีทางช้างเผือก
5. สามเหลี่ยมเพนโรส
6. กระเบื้องเพนโรส
*******************
หลุมดำ เป็นสิ่งที่สังเกตเห็นได้ยากที่สุดสิ่งหนึ่งในเอกภพ นอกไปจากว่าตัวหลุมดำเองนั้นจะไม่ส่องแสงอะไรออกมาแล้ว การจะสังเกตเห็นแสงของวัตถุที่กำลังตกลงไปในขอบฟ้าเหตุการณ์นั้นก็ยังเป็นเรื่องที่ทำได้ยาก เนื่องจากหลุมดำนั้นมีขนาดเล็กมาก โดยหลุมดำที่มีมวลเท่ากับดวงอาทิตย์จะมีขนาดเพียงแค่ 3 กิโลเมตรเพียงเท่านั้น ทำให้หลุมดำนั้นเป็นวัตถุที่เล็กและจางเกินกว่าจะสังเกตเห็นได้ด้วยวิธีปรกติ
แต่หลุมดำหนึ่ง ที่มีการคาดการณ์กันว่าจะพบได้ ก็คือหลุมดำมวลยิ่งยวด (supermassive black hole) ที่ ณ ตำแหน่งใจกลางของกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา เรามีการคาดการณ์มานานว่า ณ ใจกลางของกาแล็กซีของเรานั้นน่าจะมีหลุมดำมวลยิ่งยวดอยู่ อย่างไรก็ตาม การสังเกตการณ์โดยตรงนั้นเป็นไปได้ยาก เพราะนอกไปจากจะต้องสังเกตผ่านฝุ่นอันหนาทึบที่ปกคลุมอยู่ตลอดจานของกาแล็กซีทางช้างเผือกแล้วนั้น ตัวหลุมดำเองก็ยังมีขนาดที่เล็กมาก เมื่อเทียบกับระยะทางอันห่างไกลของมัน โดยหากเปรียบเทียบกันแล้ว กล้องโทรทรรศน์ใดก็ตามที่จะสามารถสังเกตเห็นหลุมดำมวลยิ่งยวดที่ใจกลางกาแล็กซีได้ จะต้องสามารถมองเห็นรายละเอียดที่เล็กกว่าเหรียญสลึงที่วางอยู่บนพื้นผิวของดวงจันทร์ หรือเห็นอนุภาคของไวรัสที่อยู่ห่างออกไปหนึ่งกม. การจะมองเห็นหลุมดำโดยตรงจึงเป็นเรื่องที่ท้าทายเป็นอย่างมาก และทีม EHT ก็สามารถทำได้โดยการใช้เทคนิค interferometry ที่ทำให้ได้กล้องโทรทรรศน์ที่มีขนาดใช้งานใกล้เคียงกับขนาดของโลกของเรา[6]
อย่างไรก็ตาม เราอาจจะสามารถอนุมานการมีอยู่ของหลุมดำได้ผ่านทางหลักฐานทางอ้อม ในปี 1931 Karl Jansky ได้พบสัญญาณวิทยุมาจากทิศทางของใจกลางกาแล็กซีทางช้างเผือก แหล่งที่มาของสัญญาณวิทยุนี้จึงได้ชื่อในภายหลังว่า Sagittarius A* (Sag A*) ตามที่ตั้งของกลุ่มดาวแมงป่องที่เป็นที่ตั้งของใจกลางทางช้างเผือก มีการคาดการณ์กันว่า สัญญาณวิทยุอันแรงกล้านี้ น่าจะเกิดขึ้นจากอนุภาคมีประจุที่กำลังตกลงสู่ขอบฟ้าเหตุการณ์ของหลุมดำ แต่เราก็ยังคงไม่มีหลักฐานอื่นที่จะยืนยันว่าวัตถุนี้เป็นหลุมดำอยู่ดี
หลักฐานที่ใกล้เคียงหลักฐานโดยตรงที่สุด ที่ยืนยันว่า Sagittarius A* เป็นหลุมดำมวลยิ่งยวด เกิดขึ้นจากการศึกษาวงโคจรของดาวฤกษ์ที่โคจรอยู่รอบๆ Sag A* โดยที่ทีมของ Reinhard Genzel จาก Max Planck Institute for Extraterrestrial Physics และ Andrea M. Ghez จาก UCLA ต่างก็ได้นำเสนอผลการติดตามตำแหน่งของดาวฤกษ์ S2 (หรือ S0-2) ที่โคจรอยู่รอบ Sag A* และพบว่าดาวฤกษ์ดวงนี้มีอัตราเร็วโคจรไปรอบๆ Sag A* สูงถึง 2.55% ของความเร็วแสง และล้อมรอบวัตถุที่มีมวลสูงถึง 4 ล้านเท่าของมวลดวงอาทิตย์ ซึ่งถูกจำกัดเอาไว้ในบริเวณที่เล็กกว่า 120 หน่วยดาราศาสตร์ (ระยะวงโคจรของโลก) ซึ่งบ่งชี้ว่า Sag A* ประกอบขึ้นด้วยวัตถุที่มีมวลหนาแน่นอยู่ในบริเวณปริมาตรเล็กๆ ณ กึ่งกลางของกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา
ซึ่งถึงแม้ว่าเราจะยังไม่สามารถสังเกตหลุมดำที่ใจกลางกาแล็กซีได้โดยตรง แต่นี่ก็นับเป็นการค้นพบวัตถุที่มีความหนาแน่นมากที่สุด และเป็นหลักฐานที่ดีที่สุด ที่จะยืนยันว่า Sag A* นั้นเป็นหลุมดำมวลยิ่งยวด ณ ใจกลางกาแล็กซีของเรา ซึ่งเท่ากับว่า ณ ตำแหน่งที่ใกล้หลุมดำที่สุด ดาวฤกษ์ S2 นั้นอยู่ห่างจากขอบฟ้าเหตุการณ์ไปเพียงแค่ 1400 เท่าของขนาดหลุมดำ (วัดโดย Scwarzschild radius) เพียงเท่านั้นเอง
และด้วยการค้นพบวัตถุที่มีมวลหนาแน่น ที่ยืนยันถึงความเป็นไปได้ที่หลุมดำจะมีอยู่จริงในธรรมชาตินี่เอง ที่ทำให้ Reinhard Genzel และ Andrea M. Ghez ได้ครึ่งหนึ่งของรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปีนี้ไปครอง[2]
ภาพ: ดาวฤกษ์ที่โคจรรอบๆ หลุมดำมวลยิ่งยวด ณ ใจกลางกาแล็กซีของเรา โดย ESO/MPE/Marc Schartmann
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://en.wikipedia.org/wiki/Sagittarius_A*
[2] https://www.nobelprize.org/prizes/physics/2020/popular-information/
[3] https://www.facebook.com/matiponblog/photos/a.255101608033386/1430982597111942/
[4] https://www.facebook.com/matiponblog/photos/a.255101608033386/1435086120034923/
[5] https://www.facebook.com/matiponblog/photos/a.255101608033386/1439192259624309/
[6] https://www.facebook.com/matiponblog/photos/a.255101608033386/977309255812614/
ucla wiki 在 白經濟 TalkEcon Facebook 的精選貼文
▍0616今日經濟學家:William F. Sharpe
William Sharpe出生於1934年6月16日,是著名的財務經濟學家,他是資產定價模型(CAPM)的創始人之一,Sharpe比率經常是業界衡量金融資產報酬和風險的關係,因此Sharpe在1990年和Merton Miller, Harry Markowitz共同獲頒諾貝爾經濟學獎,表彰他們在財務經濟的貢獻。
Sharpe年輕時原本立志唸醫科,但接觸經濟學之後便對此學科產生興趣,UCLA畢業後,先在當時著名的RAND智庫擔任經濟學家,且同時在UCLA繼續攻讀博士,受到Harry Markowitz, Armen Alchian等人的影響投入財務經濟的研究。博士畢業後在華盛頓大學、加州大學爾灣分校任教,1970年轉往史丹佛任教至今超過半世紀,影響當代財務經濟研究發展。
補充影片 (https://goo.gl/XBvY47)
參考資料:Nobel Prize Website (https://goo.gl/xSRvv7),
Wiki (https://en.wikipedia.org/wiki/William_F._Sharpe)