- Luyện đọc tìm từ vựng nhé.
Bài đọc hôm nay là: THE GROWTH OF BIKE-SHARING SCHEMES AROUND THE WORLD
How Dutch engineer Luud Schimmelpennink helped to devise urban bike-sharing schemes
A. The original idea for an urban bike-sharing scheme dates back to a summer's day in Amsterdam in 1965. Provo, the organisation that came up with the idea, was a group of Dutch activists who wanted to change society. They believed the scheme, which was known as the Witte Fietsenplan, was an answer to the perceived threats of air pollution and consumerism. In the centre of Amsterdam, they painted a small number of used bikes white. They also distributed leaflets describing the dangers of cars and inviting people to use the white bikes. The bikes were then left unlocked at various locations around the city, to be used by anyone in need of transport.
B. Luud Schimmelpennink, a Dutch industrial engineer who still lives and cycles in Amsterdam, was heavily involved in the original scheme. He recalls how the scheme succeeded in attracting a great deal of attention - particularly when it came to publicising Provo's aims - but struggled to get off the ground. The police were opposed to Provo's initiatives and almost as soon as the white bikes were distributed around the city, they removed them. However, for Schimmelpennink and for bike-sharing schemes in general, this was just the beginning. 'The first Witte Fietsenplan was just a symbolic thing,' he says. 'We painted a few bikes white, that was all. Things got more serious when I became a member of the Amsterdam city council two years later.'
C. Schimmelpennink seized this opportunity to present a more elaborate Witte Fietsenplan to the city council. 'My idea was that the municipality of Amsterdam would distribute 10,000 white bikes over the city, for everyone to use,' he explains. 'I made serious calculations. It turned out that a white bicycle - per person, per kilometre - would cost the municipality only 10% of what it contributed to public transport per person per kilometre.' Nevertheless, the council unanimously rejected the plan. 'They said that the bicycle belongs to the past. They saw a glorious future for the car,' says Schimmelpennink. But he was not in the least discouraged.
D. Schimmelpennink never stopped believing in bike-sharing, and in the mid-90s, two Danes asked for his help to set up a system in Copenhagen. The result was the world's first large-scale bike-share programme. It worked on a deposit: 'You dropped a coin in the bike and when you returned it, you got your money back.' After setting up the Danish system, Schimmelpennink decided to try his luck again in the Netherlands - and this time he succeeded in arousing the interest of the Dutch Ministry of Transport. 'Times had changed,' he recalls. 'People had become more environmentally conscious, and the Danish experiment had proved that bike-sharing was a real possibility.' A new Witte Fietsenplan was launched in 1999 in Amsterdam. However, riding a white bike was no longer free; it cost one guilder per trip and payment was made with a chip card developed by the Dutch bank Postbank. Schimmelpennink designed conspicuous, sturdy white bikes locked in special racks which could be opened with the chip card- the plan started with 250 bikes, distributed over five stations.
E. Theo Molenaar, who was a system designer for the project, worked alongside Schimmelpennink. 'I remember when we were testing the bike racks, he announced that he had already designed better ones. But of course, we had to go through with the ones we had.' The system, however, was prone to vandalism and theft. 'After every weekend there would always be a couple of bikes missing,' Molenaar says. 'I really have no idea what people did with them, because they could instantly be recognised as white bikes.' But the biggest blow came when Postbank decided to abolish the chip card, because it wasn't profitable. 'That chip card was pivotal to the system,' Molenaar says. 'To continue the project we would have needed to set up another system, but the business partner had lost interest.'
F. Schimmelpennink was disappointed, but- characteristically- not for long. In 2002 he got a call from the French advertising corporation JC Decaux, who wanted to set up his bike-sharing scheme in Vienna. 'That went really well. After Vienna, they set up a system in Lyon. Then in 2007, Paris followed. That was a decisive moment in the history of bike-sharing.' The huge and unexpected success of the Parisian bike-sharing programme, which now boasts more than 20,000 bicycles, inspired cities all over the world to set up their own schemes, all modelled on Schimmelpennink's. 'It's wonderful that this happened,' he says. 'But financially I didn't really benefit from it, because I never filed for a patent.'
G. In Amsterdam today, 38% of all trips are made by bike and, along with Copenhagen, it is regarded as one of the two most cycle-friendly capitals in the world - but the city never got another Witte Fietsenplan. Molenaar believes this may be because everybody in Amsterdam already has a bike. Schimmelpennink, however, cannot see that this changes Amsterdam's need for a bike-sharing scheme. 'People who travel on the underground don't carry their bikes around. But often they need additional transport to reach their final destination.' Although he thinks it is strange that a city like Amsterdam does not have a successful bike sharing scheme, he is optimistic about the future. 'In the '60s we didn't stand a chance because people were prepared to give their lives to keep cars in the city. But that mentality has totally changed. Today everybody longs for cities that are not dominated by cars.'
original (adj): đầu tiên
scheme (n): kế hoạch
activist (n): nhà hoạt động xã hội
perceived (adj): nhận biết; threat (n): mối đe dọa
consumerism (n): sự bảo vệ quyền lợi người tiêu dùng
struggle (v): đấu tranh
opposed (adj): phản đối
initiative (n): sáng kiến
symbolic (adj): tượng trưng
seize (v): nắm bắt
elaborate (adj): phức tạp
municipality (n): thành phố tự trị
unanimously (adv): đồng lòng, nhất trí
glorious (adj): huy hoàng
deposit (n): tiền đặt cọc
arouse (v): đánh thức
conscious (adj): nhận thức
conspicuous (adj): đáng chú ý
vandalism (n): hành động cố ý phá hoại
theft (n): hành vi trộm cắp
abolish (v): hủy bỏ
profitable (adj): có lợi
pivotal (adj): chủ chốt, then chốt
characteristically (adv): một cách đặc trưng
decisive (adj): kiên quyết
unexpected (adj): bấtt ngờ
boast (v): khoe khoang
optimistic (adj): lạc quan
mentality (n): tâm tính
Các bạn cùng lưu về tham khảo nha.
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過1,680的網紅MIMI LAU MAKEUP,也在其Youtube影片中提到,第一次來奧地利就成為了我最喜歡歐洲國家的前三名! 風景漂亮又有濃濃的文化歷史建築。 多樣化的景點風景,不會讓你覺得無聊~ 下次會想來去滑雪~雪山也超美的~ *一開始的頭髮是因為冬天風太大吹亂了,我沒留意到T^T 希望大家別介意。 【Vienna Pass&維也納交通卡】 https://www...
vienna transport 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
“เวียนนา” ทำอย่างไร? ให้เป็นเมืองน่าอยู่ที่สุดในโลก 10 ปีซ้อน / โดย ลงทุนแมน
จากการจัดอันดับเมืองน่าอยู่ของบริษัทที่ปรึกษา Mercer จากทั้งหมด 231 เมืองทั่วโลก
กรุงเวียนนา เมืองหลวงของประเทศออสเตรีย ครองตำแหน่งเมืองน่าอยู่ที่สุดในโลก
ในปี 2019 และครองตำแหน่งนี้มาตั้งแต่ปี 2010
เท่ากับว่า เมืองที่มีประชากร 2 ล้านคนแห่งนี้ เป็นเมืองน่าอยู่ที่สุดในโลกมาเป็นเวลา 10 ปีซ้อน..
นอกจากบริษัทที่ปรึกษาด้านบริหารทรัพยากรบุคคลอย่าง Mercer แล้ว
สถาบันอย่าง The Economist ก็ได้มอบตำแหน่งเมืองน่าอยู่ที่สุดในโลกให้กับเวียนนาในปี 2019 ด้วยเช่นกัน
สิ่งที่ทำให้เวียนนาเป็นเมือง “น่าอยู่” คืออะไร?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
พบกับ หนังสือ ลงทุนแมน 13.0 ที่อัดแน่นไปด้วยกรณีศึกษาและมุมมองธุรกิจที่น่าสนใจ
พร้อมให้คุณเป็นเจ้าของแล้ววันนี้ที่
Lazada: https://www.lazada.co.th/products/130-i1587474257-s4309842746.html
Shopee: https://shopee.co.th/Longtunman-หนังสือลงทุนแมน-13.0-i.116732911.7453767586
╚═══════════╝
ก่อนอื่นมารู้จักประวัติของเวียนนากันสักนิด
กรุงเวียนนา หรือชื่อภาษาเยอรมันว่า “Wien” ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศออสเตรีย
มีแม่น้ำดานูบไหลผ่านกลางเมือง
กรุงเวียนนาเป็นศูนย์กลางของราชวงศ์ฮับส์บวร์กมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16
ในศตวรรษที่ 18 ก็ขึ้นแท่นเป็นศูนย์กลางการปกครองที่ยิ่งใหญ่แห่งหนึ่งของยุโรป
มีพระราชวังเชินบรุนน์ที่งามสง่า มีถนนหนทางโอ่อ่า อาคารประดับประดาสวยงาม
เป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมโดยเฉพาะดนตรีคลาสสิก ได้รับฉายาว่า “นครหลวงแห่งการดนตรี”
คีตกวีชื่อดังระดับโลกทั้ง โยฮันน์ ชเตราสส์, โมซาร์ท, เบทโฮเฟิน
ล้วนมีช่วงชีวิตรุ่งโรจน์อยู่ในเมืองแห่งนี้
เวียนนายังคงเป็นศูนย์กลางต่อเนื่องถึงจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 เวลานั้นตรงกับยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมของยุโรป
เวียนนาก็ไม่ต่างกับเมืองใหญ่ๆ หลายแห่งของยุโรป มีการสร้างโรงงานมากมาย ดึงดูดแรงงานจากชนบทให้เข้ามาอยู่ในเมือง ประชากรของเวียนนาเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนมากกว่า 1 ล้านคน
ในช่วงทศวรรษ 1880s
ท้ายที่สุดก็นำมาสู่ปัญหาขาดแคลนที่อยู่อาศัย..
นอกถนนวงแหวนที่ล้อมเขตเมืองเก่าที่สวยงาม เต็มไปด้วยอาคารที่อยู่อาศัยที่เสื่อมโทรม
ผู้คนแออัดยัดเยียด หลายแห่งไม่มีห้องน้ำ ยังไม่นับรวมผู้คนอีกมากมายที่อาศัยอยู่ในบ้านทั้งหมดส่งผลให้สุขอนามัยของชาวเวียนนาอยู่ในขั้นวิกฤติ เกิดการระบาดอย่างรุนแรงของโรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะ “วัณโรค”
ปัญหาดูจะย่ำแย่ลงไปอีก เมื่อจบสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี ค.ศ. 1918 พร้อมกับการล่มสลายของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ผู้อพยพจากดินแดนอื่นๆ ของจักรวรรดิต่างหลั่งไหลมาอยู่กรุงเวียนนา และเกิดวิกฤติเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก หรือ Great Depression ที่ทำให้ผู้คนว่างงาน
แต่ช่วงเวลาที่ย่ำแย่ที่สุด ก็นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ที่ทำให้วิถีชีวิตผู้คนดีขึ้น
หลังจักรวรรดิล่มสลาย ออสเตรียกลายเป็นสาธารณรัฐ มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย
โดยเริ่มให้สิทธิเลือกตั้งกับทุกคนรวมถึงผู้หญิง ไม่จำกัดเฉพาะชนชั้นสูงผู้ชายอีกต่อไป
พรรคสังคมนิยมประชาธิปไตยได้ขึ้นมาเป็นเทศมนตรีแห่งกรุงเวียนนาในช่วงปี ค.ศ. 1918 - ค.ศ. 1934 และชีวิตความเป็นอยู่ของชาวเมืองก็เริ่มได้รับการพัฒนาขึ้นทีละน้อย
อย่างแรกก็คือ การแก้ปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย..
คุณ Karl Seitz นายกเทศมนตรีแห่งกรุงเวียนนาระหว่างปี ค.ศ. 1923 - ค.ศ. 1934
เป็นผู้ผลักดันโครงการที่อยู่อาศัยที่เมืองเป็นผู้สนับสนุนค่าเช่า
โดยเมืองจะทำหน้าที่เป็นผู้สร้าง และเก็บค่าเช่าจากผู้คนในราคาถูก
คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 4% ของค่าครองชีพ
แต่เนื่องจากเมืองก็ไม่ได้มีเงินทุนมากมาย จึงจำเป็นต้องหารายได้ด้วยการปฏิรูปภาษี
โดยเริ่มการปฏิรูปในปี ค.ศ. 1922 ด้วยการปรับขึ้นภาษีต่างๆ โดยเฉพาะภาษีที่ดิน และภาษีที่อยู่อาศัยสำหรับเอกชน
เมื่อเมืองมีรายได้มากขึ้น สวนทางกับภาคเอกชน ที่ไม่มีใครอยากซื้อที่ดินมาทำโครงการบ้าน เพราะทำไปก็ไม่คุ้ม ผลที่ได้ เมืองสามารถซื้อที่ดินว่างเปล่ามาเพื่อสร้างอะพาร์ตเมนต์สำหรับประชาชน ซึ่งถูกเรียกว่า “Gemeindebau”
แต่ Gemeindebau ก็ไม่ใช่อะพาร์ตเมนต์ที่สร้างแบบหยาบๆ มีการออกแบบให้มีพื้นที่สีเขียวควบคู่ไปด้วย มีสิ่งอำนวยความสะดวกครบครัน ทั้งศูนย์ดูแลเด็ก ห้องสมุด โรงยิม ร้านค้าสหกรณ์ สนามเด็กเล่น ซึ่งกลายเป็นชุมชนให้ผู้คนได้มาพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ท้ายที่สุด เมืองก็กลายมาเป็นผู้ครอบครองที่ดินมากที่สุดในเวียนนา โดยมีการสร้างอะพาร์ตเมนต์แบบ Gemeindebau กว่า 60,000 แห่งทั่วเมือง โดยอะพาร์ตเมนต์ที่ใหญ่ที่สุด คือ Karl Marx-Hof ซึ่งมีความยาวถึง 1.1 กิโลเมตร
เมื่อที่อยู่อาศัยซึ่งเป็นปัญหาพื้นฐานที่สุดของเมืองได้รับการแก้ไข ผู้คนมากมายสามารถมีที่อยู่โดยใช้เงินเพียงเล็กน้อย ปัญหาต่างๆ จึงเริ่มบรรเทาลง ทั้งปัญหาสุขอนามัย และอาชญากรรม
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ออสเตรียได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากสหรัฐอเมริกาในแผนการ Marshall ทำให้รัฐบาลมีเงินมาซ่อมแซมอาคารบ้านเรือนที่เสียหายจากสงคราม และปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน โดยสร้างอะพาร์ตเมนต์แบบใหม่ที่สะดวกสบายมากขึ้นอีก และปรับปรุงระบบขนส่งมวลชนให้มีประสิทธิภาพ
เมื่อระบบรถราง (Tram) และรถไฟใต้ดินของเวียนนาที่สร้างมาตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19
เริ่มเก่าและเสื่อมสภาพลง จึงมีการปรับปรุงและขยายเส้นทางให้ครอบคลุมทั่วเมือง ในช่วงทศวรรษ 1970s เกิดเป็น Vienna U-Bahn ระบบรถไฟในเมือง
และ Vienna S-Bahn ระบบรถไฟชานเมือง เชื่อมระหว่างใจกลางเมือง กับเขตเมืองรอบๆ
ในปัจจุบัน เวียนนาและเขตปริมณฑล มีระบบรถไฟทั้ง U-Bahn และ S-Bahn
รวมกันเป็นระยะทางมากกว่า 700 กิโลเมตร และระบบรถรางเป็นระยะทางกว่า 170 กิโลเมตร
โดยค่าตั๋วเดินทางแบบรายปี มีราคาเพียง 365 ยูโร สามารถใช้กับระบบขนส่งมวลชนในเขตเมืองได้ทุกประเภททั้งรถไฟ รถราง และรถเมล์ ซึ่งเฉลี่ยแล้วจะเป็นค่าใช้จ่ายวันละ 1 ยูโร หรือ 40 บาทต่อวัน
เมื่อเทียบกับ GDP ต่อหัวของชาวเวียนนาในปี 2019 ที่ 44,000 ยูโร
ค่าเดินทางจะมีสัดส่วนไม่ถึง 1% ของรายได้ด้วยซ้ำ..
ปัจจุบันเวียนนาจึงมีระบบขนส่งมวลชนที่ครอบคลุมในราคาที่เอื้อมถึง มีพื้นที่สีเขียว มีพื้นที่แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และที่สำคัญ ประชาชนมี “บ้าน” ที่ปลอดภัย ถูกสุขอนามัย และมีค่าเช่าที่ไม่แพง
ปัจจุบันมีชาวเวียนนากว่า 60% อาศัยอยู่ในอะพาร์ตเมนต์ Gemeindebau ที่มีการออกแบบทันสมัยมากขึ้น มีการนำนวัตกรรมด้านประหยัดพลังงานมาใช้พัฒนาให้คุณภาพชีวิตดีขึ้นไปอีก
โดยตัวแปรในการจัดอันดับเมืองน่าอยู่ของ Mercer ประกอบไปด้วย
ความมั่นคงทางการเมือง เสรีภาพในการแสดงออก สุขอนามัย อาชญากรรม การศึกษา
ระบบขนส่งมวลชน พื้นที่สาธารณะ และที่อยู่อาศัย
ถ้าอ่านมาถึงตรงนี้ คงได้คำตอบแล้วว่า
อะไรที่ทำให้เวียนนา “น่าอยู่” จนได้รับตำแหน่งอันดับ 1 ของโลกมาครอบครอง..
สำหรับกรุงเทพมหานคร จากการจัดอันดับเมืองน่าอยู่ของ Mercer อยู่ในอันดับที่ 133 จากทั้งหมด 231 เมืองทั่วโลก
ทุกคนรู้ว่ากรุงเทพฯ มีนักท่องเที่ยวต่างชาติมาเยือนเป็นอันดับ 1 ของโลก
เป็นเมือง “น่าเที่ยว” ที่มีสถานที่สวยงามมากมาย มีอาหารอร่อย มีบริการที่ครบครันในราคาไม่แพง
แต่สำหรับความ “น่าอยู่” แล้ว
สิ่งรอบตัวคนกรุงเทพฯ เช่น ระบบขนส่งมวลชน การจราจร พื้นที่สีเขียว และทางเท้า คงจะเป็นตัวอย่างแบบง่ายๆ ว่าทำไม กรุงเทพฯ ถึงเป็นเมืองน่าอยู่อันดับที่ 133 ของโลก..
╔═══════════╗
พบกับ หนังสือ ลงทุนแมน 13.0 ที่อัดแน่นไปด้วยกรณีศึกษาและมุมมองธุรกิจที่น่าสนใจ
พร้อมให้คุณเป็นเจ้าของแล้ววันนี้ที่
Lazada: https://www.lazada.co.th/products/130-i1587474257-s4309842746.html
Shopee: https://shopee.co.th/Longtunman-หนังสือลงทุนแมน-13.0-i.116732911.7453767586
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://www.mercer.com/newsroom/2019-quality-of-living-survey.html
-https://www.independent.co.uk/travel/news-and-advice/vienna-best-city-live-quality-life-ranking-mercer-australia-europe-a8820396.html
-https://www.wien.info/en/sightseeing/red-vienna/100-years-of-red-vienna
-https://ec.europa.eu/growth/tools-databases/regional-innovation-monitor/base-profile/vienna
-https://www.theguardian.com/world/2019/jul/09/vienna-euro-a-day-public-transport-berlin-365-annual-ticket
-เมืองน่าอยู่ที่รู้สึก, Little Thoughts
vienna transport 在 MIMI LAU MAKEUP Youtube 的最佳貼文
第一次來奧地利就成為了我最喜歡歐洲國家的前三名!
風景漂亮又有濃濃的文化歷史建築。
多樣化的景點風景,不會讓你覺得無聊~
下次會想來去滑雪~雪山也超美的~
*一開始的頭髮是因為冬天風太大吹亂了,我沒留意到T^T
希望大家別介意。
【Vienna Pass&維也納交通卡】
https://www.viennapass.com/vienna-transport/
1. 世界上最美咖啡店之一【中央咖啡館 Cafe Central 】推薦度:7分
地址:Herrengasse 14, 1010 Wien, 奧地利
咖啡店因為我去了世上最美咖啡店前三的New York Cafe
所以比較之下這個變的沒那麼大吸引力,
但也必須說Cafe Central其實蠻美的,但早餐就很一般,
如果你們有去吃午餐晚餐記得告訴我好不好吃~
2.世界上最美圖書館-
【奧地利國家圖書館 Österreichische Nationalbibliothek】推薦度:9分
地址:Josefsplatz 1, 1015 Wien
世界上最美圖書館的頭銜並非浪得虛名!
這裡超級美?不來拍照打卡你真的會後悔❗️
3.【維也納國家歌劇院 Wiener Staatsoper】推薦度:10分滿分!
地址: Opernring 2, 1010 Wien, 奧地利
第一次坐在包廂看歌劇表演,
還是在音樂之都維也納,
這座新文藝復興建築風格,
歐洲知名的「維也納國家歌劇院」✨ .
以前是皇家宮廷的歌劇院,
所以建築內外都富麗堂皇,
表演廳宏偉壯觀,極具氣派,
連觀眾休息廳都如皇室宮廷般華麗。
說真的,不來你一定後悔!
這次只花了$32歐元(港幣$300)
就坐在包廂裡看演出,
真的超級值得!
美麗的環境,加上整個氣氛,
現在配樂怖置和芭蕾舞團讓人起雞皮疙瘩的精彩演出。
必定讓你留下難忘的回憶!
下次有機會我一定會再來!
?滿分的推薦!
喜歡我的推薦請按讚影片和訂閱我的頻道喔~
謝謝大家~
【越南峴港&會安VLOG EP1】會安古城網紅Cafe&必食法包
https://youtu.be/-234oCpCMhA
【越南峴港&會安VLOG EP2】美山聖地半日遊|秋盆河遊船
https://youtu.be/5s51mwUguQ8
【越南峴港&會安VLOG EP3】Klook 越南烹飪課+籃子船半日遊
https://youtu.be/lF2Ul5T6iW8
【越南峴港&會安VLOG EP4】安邦海灘高CP值住宿| 全新私人海灘Resort
https://youtu.be/mwhNCAQ6L9M
【越南峴港&會安VLOG EP5】峴港高CP值住宿|Infinity Pool 無邊際泳池|文青風網紅旅館
https://youtu.be/A8EEU3Okyo0
【Follow me】
【Instagram】http://www.instagram.com/mimilaumakeup
【Facebook】http://www.facebook.com.mimilaumakeup
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/iI0vihAsM5E/hqdefault.jpg)