รู้จัก Zero-Coupon Bond หุ้นกู้ไม่จ่ายดอกเบี้ยของ โฮมโปร / โดย ลงทุนแมน
ให้คนอื่นยืมเงิน โดยไม่คิดดอกเบี้ย แบบนี้มีด้วยเหรอ?
แล้วคนให้ยืมจะได้อะไร?
เรามาทำความรู้จักความหมายของ Zero-Coupon Bond กัน กับเคสของจริง นั่นคือ “หุ้นกู้โฮมโปร”
ทำไมโฮมโปรบอกว่าจะไม่จ่ายดอกเบี้ยเลย
แล้วโฮมโปรจะยืมเงินคนอื่นได้อย่างไร
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
หุ้นกู้ประเภทที่ไม่มีการจ่ายดอกเบี้ย (Zero-Coupon Bond) ก็คือ หุ้นกู้ที่จะกำหนดราคาขายไว้ต่ำกว่าราคาที่ตราไว้ นั่นหมายความว่า วันที่เราซื้อหุ้นกู้เราจะชำระเงินที่ราคาส่วนลด แต่เมื่อเราถือหุ้นกู้จนครบกำหนด ผู้ออกหุ้นกู้จะคืนเงินให้เราเต็มจำนวนตามมูลค่าที่กำหนดไว้
ยกตัวอย่างเช่น หุ้นกู้มูลค่า 1,000 บาท อายุ 1 ปี เป็นหุ้นกู้ที่ไม่จ่ายดอกเบี้ย แต่มีส่วนลดให้ผู้ซื้อ 1% ณ วันแรกที่เราลงทุนซื้อหุ้นกู้ เราชำระเงิน 990 บาท และในอีก 1 ปีข้างหน้า เมื่อครบกำหนดอายุหุ้นกู้ เราจะได้เงินคืน 1,000 บาท
มองในมุมของการลงทุน คือ เราจะได้ผลตอบแทน 10 บาทจากเงินลงทุนที่เราลงทุน 990 บาท คิดเป็นผลตอบแทน 1.01% ต่อปี
ในมุมของบริษัทหรือผู้ออกตราสาร
การออกหุ้นกู้ประเภทนี้เป็นการล็อกต้นทุนทางการเงินไว้ รวมทั้งไม่ต้องมีภาระการจ่ายดอกเบี้ยให้กับผู้ถือหุ้นกู้ระหว่างทาง หากเป็นผู้ออกตราสารที่เป็นบริษัทขนาดใหญ่ มีอันดับความน่าเชื่อถือสูง ราคาที่ออกเสนอขายก็ไม่จำเป็นต้องให้ส่วนลดมาก
แล้วส่วนลดที่มากำหนดราคาขายมาจากอะไร?
สิ่งที่เป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนดส่วนลดที่จะให้ คือ
1. อัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลไทย
2. อายุของตราสาร
3. ความน่าเชื่อถือของผู้ออกตราสาร
โดยปกติแล้วสมาคมตราสารหนี้ไทยจะมีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้แต่ละประเภท อ้างอิงกับ อัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลไทย เพราะถือว่าเป็นผู้ออกตราสารที่มีความเสี่ยงที่จะผิดนัดชำระเงินน้อยที่สุดในประเทศ (Risk-Free)
สำหรับบริษัทที่มีความน่าเชื่อถือน้อย ก็จะต้องเพิ่มดอกเบี้ยให้มากขึ้นกว่า พันธบัตรรัฐบาล เพื่อจูงใจผู้ลงทุน
และสำหรับบริษัทที่ออกหุ้นกู้ที่อายุยาวขึ้น ก็จะต้องเพิ่มดอกเบี้ยให้มากขึ้นเพื่อจูงใจ เช่นกัน
แล้วเคสของหุ้นกู้ไม่มีดอกเบี้ยของโฮมโปรเป็นอย่างไร?
อย่างในกรณีของโฮมโปร ที่ล่าสุดมีการเสนอขายหุ้นกู้แบบไม่จ่ายดอกเบี้ยครั้งนี้ หากขายหมด จะได้เงินเข้าบริษัท 956,216,741 บาท เพื่อนำเงินไปใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน ตามที่ระบุไว้ในเอกสารชี้ชวน ระหว่าง 3 ปีนี้โฮมโปรจะไม่มีการจ่ายดอกเบี้ยใดๆ และเมื่อตราสารนี้ครบกำหนดอายุ โฮมโปร จะต้องนำเงินสดไถ่ถอนหุ้นกู้นี้แก่ผู้ถือตราสาร จำนวน 1,000,000,000 บาท สำหรับโฮมโปรแล้วการระดมทุนครั้งนี้มีต้นทุนที่ประมาณ 1.5% ต่อปี ซึ่งถือว่าเป็นต้นทุนที่ “ต่ำมาก” และบริหารจัดการได้ง่ายกว่าเมื่อเทียบกับการระดมทุนในรูปแบบอื่น
สาเหตุที่โฮมโปรสามารถกำหนดส่วนลดที่ระดับ 1.5% ต่อปีได้ เพราะ อันดับความน่าเชื่อถือของ โฮมโปร ซึ่งจัดโดย Tris Rating อยู่ที่ระดับ AA- โดยสะท้อนจากสถานะทางการเงินของโฮมโปรที่ยังแข็งแกร่ง ถึงแม้ช่วงที่ผ่านมารายได้ และการทำกำไรจะได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด 19 บ้าง
แต่ถ้าอ่านมาถึงตรงนี้ เราคิดว่าอยากซื้อหุ้นกู้นี้ คงซื้อไม่ได้นะ
เพราะการเสนอขายครั้งนี้ไม่ได้เป็นการเสนอขายแก่บุคคลทั่วไป แต่เป็นการเสนอขายสำหรับนักลงทุนสถาบัน อย่าง บริษัทประกัน หรือ บริษัทจัดการกองทุน ซึ่งผู้จัดการกองทุนก็จะทำหน้าที่พิจารณาความเหมาะสมของตราสารหนี้ที่จะเข้าลงทุน และกระจายการลงทุนไปตามนโยบายการลงทุนที่กำหนดไว้
หุ้นกู้ที่ไม่มีการจ่ายดอกเบี้ย (Zero-Coupon Bond) ถือเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถสร้างผลตอบแทนให้กับนักลงทุนได้ ซึ่งนอกจากโฮมโปรแล้ว ก็ยังมีอีกหลายบริษัทขนาดใหญ่ เช่น บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา, บมจ.ศุภาลัย, บมจ.เจ มาร์ท, ธนาคาร ICBC และอื่นๆ ก็เลือกที่จะระดมทุนผ่านตราสารประเภทนี้เช่นกัน
ส่วนความเสี่ยงของการลงทุนหุ้นกู้ประเภทนี้ หากเปรียบเทียบกับการลงทุนในหุ้นกู้ที่มีการจ่ายดอกเบี้ย ที่ระหว่างทางเรายังมีโอกาสได้เงินคืนบ้าง (ถึงแม้ว่าจะน้อย ในภาวะดอกเบี้ยต่ำ) แต่การลงทุนในหุ้นกู้ที่ไม่จ่ายดอกเบี้ยเลย หากผู้ออกหุ้นกู้เกิดปัญหา ทำให้บริษัทไม่สามารถชำระหนี้คืนได้ เท่ากับว่าเราจะสูญเสียเงินต้นทั้งก้อนเลยทีเดียว
ดังนั้นสิ่งสำคัญ คือ การลงทุนทุกประเภทนั้นมีความเสี่ยง การที่เราจะเลือกลงทุนในตราสารประเภทไหนก็ตาม เราควรต้องทำความเข้าใจถึงความเสี่ยงที่แฝงไว้ทุกครั้งก่อนการตัดสินใจลงทุน..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.infoquest.co.th/2021/57539
-https://www.trisrating.com/files/9016/0454/7117/HMPRO146-t.pdf
-https://market.sec.or.th/public/idisc/th/Product/Filing/PL-0000003191/XX-XX-X-00000000-00000000-X
-https://market.sec.or.th/public/ipos/IPOSDE01.aspx?TransID=317318
-http://www.thaibma.or.th/EN/Market/YieldCurve/Zero.aspx
zero-coupon bond 在 君子馬蘭頭 - Ivan Li 李聲揚 Facebook 的最佳解答
[Welcome to the club!]德國WireCard,加入NCAA大家庭。十幾年嚟第一間歐洲公司有此榮礜 (Financial Times原文:https://on.ft.com/31QME0w)
1. TLDR:你供樓都唔會一期都供唔到就銀主盤下話?NCAA,一次息都未派到就爆煲,好少見,歐洲公司更少。結果由能人所不能嘅誠實德國人成功爭取。金融海嘯後第一間歐洲公司。
2. 之前篇文(https://fbook.cc/3BeX)講過下,呃阿婆嗰個,都作狀有派返次息畀阿婆。帶出有個新興金融詞語(其實我唔知歷史,但我呢排先聽過,不過應該早幾年已有),叫做NCAA,讀作NC double A
3. 最新加入呢個NCAA俱樂部嘅,就係惡名昭彰人人喊打嘅德國巨企WireCard(https://fbook.cc/3BeY)。之前其實租車公司Hertz都係,但傳統上歐洲公司難入NCAA,多數係美國,陣間解。
4. 哦,你話,NCAA,NBA啲朋友嘛,美國大學籃球。啱,但,金融人講得呢啲,當然係特登玩嘢。正如AIG 係 All investment Gone,UNSW係University of Not So White。
5. 咁所以,NCAA,係No coupon at all。
6. Coupon者(人人都讀Q旁,去到英國拎BNO唔好啦),債券嘅派息—留意,只係債券先叫Coupon。股票派嘅叫Dividend(如有)。咁你話,做乜分兩個名?我點知。咁點解狗叫係wowo聲熊叫係啤啤聲丫?(BTW,鹿鳴春,英文係Spring Deer,其實鹿點叫的呢?)
7. 咁債券呢,同股票呢,雖則同樣可以輸晒(但唔會變負數),但仲有好多不同。股票呢,派唔派息就隨佢決定,甚至宣佈完可以彈弓手,甚至除淨完都可以唔派(*)。總之,同公司出畀你嘅花紅一樣,到你轉走,或者襟出嚟,先係你嘅(**)。
8. 咁,股票,派唔派息唔知,派幾多唔知,甚至可以忽然唔派,或者忽然派畀你(***)。
9. 但債券呢,好簡單,派Coupon。知唔知個字點嚟?咸豐年代,債券就一張紙啦,借據,到期就還錢畀你,你就燒咗張借據佢。但息呢?實情債券下面會有一堆撕條,好似優惠券咁,亦即係啲補習或醫痔瘡街招電話咁。你撕落嚟,就去拎息。而最正嘅係,有晒日期(有啲半年,有啲一年),有埋幾錢 — 係,債券一早講明派幾多息,唔會多,唔會少—少嘅,就仆街了,即係違約,好大機會你可以清佢盤。
10. NCAA,No coupon at all,唔係隻債券唔派息。債券當然可以唔派息,一早講明咪得。你話,咁都有人買?why not。術語叫Zero Coupon Bond,零息債券,咪你借90蚊,佢還100蚊畀你,中途冇息,一鑊過。(****)
11. 咁所以,NCAA,就係應該要派息,但冇派過息嘅債券。留意,係指一次都冇派過!(at all 嘛!),即係唔係派咗兩期之後冇錢嗰啲。
12. 要做到NCAA,即係,要第一期息已經派唔到!亦即係等於第一期息就畀人清盤。
13. 其實都幾高難度的!因為,唔少債券半年派一次息。亦即係你間公司,發債嗰時仲正正常常,但半年後連息都畀唔到!仲要唔好忘記,而家係低息年代喎。個情況好似你有首期,買到樓,但第一期樓都供唔到!好高難度的。
14. 呢啲咁高難度嘅嘅,Wirecard就做到了。隻債係九個月前發,而家已經話你知,三個月後嘅第一期息,基本上都泡湯。(又,如果係半年派一次,唔知又點?會係再早三個月爆煲?定會派到?唔知)
15. 其實入NCAA,真係唔容易。因為唔掂嘅公司,人地一定對你驗屍咁驗,亦多數要求你半年派一次息 — 但,Wirecard喎!德國人喎!講誠信架嘛!高科技之嘛!DAX30 公司喎!大過德意志銀行喎!仆街你覺得我一年會走你數息都派唔起?你係咪咁意思?唔係唔係。你話一年先派咪一年先派。
16. 頭先講過了,近期NCAA名人堂,第一間公司,係租車公司Hertz.但Wirecard都係威水,因為一般都係美國公司先會入NCAA,歐洲公司玩到咁,係好少見嘅。正如歐洲人在NBA發光發亮,我年代都未係好常見,埃汾細個都係睇咩Schrempf(西雅圖超音速,已死),沙邦尼斯(老豆呀!),伊古斯卡斯,Divac,古高,Rik Smits(最記得佢對襪)之類。而家就大把了
17. 似乎,Wire Card,係金融海嘯後第一間發歐元債而打入NCAA嘅公司。
18. 而最荒謬嘅係,估下隻bond 派幾多厘息?係0.5%。買咗嗰啲真係唔知講乜好。貪10厘息輸錢都話,收0.5厘息都出事,就唔知點算。
19. 留意返,唔係Wire Card 每一隻債券都NCAA—之前有隻CB (可換股債券,Convertible Bond)(*****),1.9%(CB仲要有兩厘!高過直債,當然不能直接比),2月有派過息
20. 最後答埋:咁我可唔可以選擇性違約,例如找數畀德國投資者,唔找其他?或者可唔可以出過兩隻bond,一隻找一隻唔找?答案係,一般唔得。任何一隻債券,任何一次,任何一個持有人,你找唔足數,就當全部違約,可以清盤,同埋ISDA(******)應會話你違約,判堆CDS(*******)有錢賠。
21. 我覺得呢排啲文有樣嘢好咗。大家知我寫文除咗會寫唔關事嘅其他嘢(鹿鳴春),亦有時寫啲真係關事嘅其他嘢。但如果每次都要解咩係CB咩係CDS,就拖到篇文好長。之但係,唔寫又真係好多讀者唔知,而冇理由assume你知,本人嘅目標讀者唔係行家。咁而家就好啦,寫文寫咗咁多,好多基本嘢我都寫過,就可以叫你睇返舊文當資料庫咁。正文可以專心講返正文嘅嘢,又唔使太長。拿,真係每日都進步少少,十年八年後就好係嘢。另外仲畀你見到,埃汾唔只係識股票嘅(不過都係未發達)
(*)匯豐嘛,唔明嘅睇舊文(https://fbook.cc/3Beb)。又,估下嗰啲又嘈話要告上證監,又話要打官司嗰堆友,而家點?嗰時4月頭,而家7月頭,個市升咗幾多?你日日鬧,啲股息就會返嚟?
(**)無數咁多故事都係有啲唔小心嘅朋友,一知道出咗花紅就劈炮,甚至講粗口同老細講「仆你個臭街,我唔撚撈啦」。理論上,入咗你戶口嘅錢就係你,原理同。但,下次睇清楚,係Account Balance 定係 Available Balance。因為,有啲公司係用票出嘅(如是我聞,瑞信。埃汾書單入面有書有講)。咁你就樂極生悲啦。。咁所以,有冇睇《幻愛》?原來啲有幻聽嘅人,會用電話錄低段聲播返,就知係咪幻覺。同樣地,唔該你轉走啲錢,或者拎出嚟數,就知係咪你嘅錢。當然啦,更好嘅,就係唔好講「仆你個臭街,我唔撚撈啦」,等轉咗錢先講。但又事實,犯啲咁低級錯誤嘅人,都真係工作平衡,Work嚟把撚的(你又識多一個術語了)。
(***)其實往往係因為大股東,或大股東個仔輸錢。請睇舊作,胡文新的女孩(https://bit.ly/3eZThkZ)。合和做乜無啦啦金融海嘯後派特別息?只能講句世上只有爸爸好,記住孝順父母呀,特別如果你老豆係胡應湘
(****)理論上再絶啲,你借100蚊畀佢,佢還返98蚊都得,是為負利率,以前係天方夜譚,而家其實好多呢類東西,只能講個世界神神地。多得聯儲局
(*****)關於CB是乜東東,可以睇舊文(https://fbook.cc/3Bec)
(******)又一麻煩嘢。ISDA在呢個context,好似幫你簽死亡證,declared legally dead咁,佢去決定啲咩CDS(Credit default swap,賭人地爆煲嗰啲)(*******)係咪有派彩。因為即係七孔流血還七孔流血,死還死,咁腦死亡係咪死亡?之類嘅問題。同樣地,你日常講違約梗係易,但上到法庭就唔係咁簡單。例如我同啲債券持有人傾重組又算唔算?或者我發新債然後收晒啲舊債但terms差啲而九成持有人同意又計唔計違約?九成九呢?之類嘅法律問題。問律師啦。
(*******)有關CDS,睇舊文(https://fbook.cc/3Beg)。或者睇下衞報講當年希臘人人以為違晒約,其實都係冇!你以為,同律師認為,係兩回事(https://bit.ly/3iAocq6)
----------------------------------------------------------------
收費短片第二擊,暫時斷次買。80蚊,講足半個鐘,有圖有表有筆記。
都係一周思考課題,當然唔會就咁報新聞呃錢,係講有乜啟示。
影片簡介:https://bit.ly/2ZILRwf
或者睇置頂 post都得:https://fbook.cc/3BRq
講銀行加按息係咪睇淡樓市,美股有冇泡沫,奧地利發100年債券有乜啟示。
仲講樓,講埋Growth vs Value.
以下係報名方法:
【最新李聲揚收費影片】股市係咪真係太貴? 要買究竟邊隻係抵?
*影片下方會有內容撮要,唔想睇片可以睇字
影片/課程編號:CC003
播放平台:https://homebloggerhk.com/web-class-player/
付款及收看步驟:
1/點擊報名收看 [ 影片/課程編號:CC003 ]
2/利用信用卡網上付款
3/及後有登入資料可以立即收看
查詢:whatsapp 63832145
zero-coupon bond 在 阿堯投資筆記 Facebook 的最讚貼文
<巴菲特的主動 vs 被動之戰>
以前就聽 Eason 跟我說過這個故事,今天又讀到一遍這個有趣的例子
大家應該知道 2008 巴菲特和一個 fund of fund 經理人開了一個賭局,巴菲特賭 10 年後追蹤 S&P 的 ETF 會勝過這個經理人選的五個基金
大家都知道後果是巴菲特大勝,都知道巴菲特要藉此教我們說指數很難打敗...也可能知道他那時候在對未來波克夏的報酬率打預防針
但還有一件有趣的事。他們兩位的賭注是 50 萬美金,2008 兩位大概花了 30 多萬買了 zero coupon bond,到期會拿回 50 萬...結果馬上遇到金融海嘯,然後 FED 把利率降到零...讓這些 bond 一下子就接近面額
有趣的事情在 2012 發生。巴菲特當時提議說:誒,我們把這些債券賣掉,配置到更高報酬率的資產好不好?我覺得波克夏不錯
然後雙方都同意了
巴菲特這個舉動又要教我們什麼嗎?誒,他怎麼當時做了一個非常主動的投資,然後效果還超好的?我查了一下這個轉換可能是在 2012 第一季,所以我直接抓 2012-2017 整年的 CAGR 比較...股神終究是股神
誒誒誒,搜尋資料的時候發現原來當時下賭注的經理人是 Ted Seides 啊,我這兩年聽了他不少 Podcast,推薦給大家,叫做 Capital Allocators Podcast