〔《實驗科學吧〕|乖乖做回收還是沒幫到地球?〕
臺灣人回收做得好,好到全世界都知~
可…有些狀況,即使大家做好分類,仍然讓塑膠無法正常進入循環利用…
塑膠的非自然分解特性讓地球承受許多污染,因此從源頭做起減量是很重要的喔!
下一集的《實驗科學吧》,要來聊聊 #鋼鐵人 東尼哥那放出來又完美收回去、近乎炫技的盔甲!明天晚上8點EP4, #1105看實驗科學吧!!
《🔬實驗科學吧》
_臺灣吧2018「大抓周計畫」節目!
EP1-『蟻人』👉https://lihi.cc/UagiP/e4pf
EP2-『恐龍』👉https://lihi.cc/Tvobe/e4pf
EP3-『❤娜美也太不科學了?!❤』
👉https://lihi.cc/jmI7a/e4pf
-
不論工業產製的過程、末端消費的便利,塑膠這種聚合物的發明讓生活有許多看得見與看不見的進步。有些塑膠具有熱塑性,也就是熱熔後可以再製為其他產品,例如PET(寶特瓶)、PP(透明塑膠杯)等等,因此鼓勵大家做好分類回收,讓這些材料循環利用!
但還是有許多狀況,讓結果不那麼美好:
【😵材質太豐富了】
1. #分類不易👀:不同的分子聚合的塑膠會有不同特性,因此在熱熔時也必須分類,才不會通通熔一起變四不像、不能用。然而「沒有分類標示」「辨識度差」「工廠技術各不同」還是讓回收後的下一步困難重重。
2. #剝除不易👋:有些為了有特別效果,並不單只是塑膠材質,或是由多種塑膠組成。譬如為了防潮會在🍪塑膠袋內層塗薄薄的錫箔,還有能抗靜電、增加密封性,都不是單一塑膠材料可完成,分類與去除雜質就更艱辛了。
【😵再次循環利用的熱融可能會讓塑膠品階變差】
塑膠是由n個分子以分子鏈彼此手牽手聚合而成🤝。但聚合物在高熱🔥和壓力下會斷裂成長度較短、分子量比較小的聚合物,而小小的聚合物,強度比較低,又稱為「#斷鏈作用」。許多再生塑膠都必須加入部分比例原生塑膠,加強強度。(https://en.wikipedia.org/wiki/Chain_scission)
不然看看家外面那張歷經風霜的塑膠椅,有沒有覺得脆脆的呢😬
【😵有些只能達成裂解,未能分解】
在為地球努力的路上🌈,有人發明玉米或大豆澱粉製的『生物可分解塑膠(biodegradable plastics)』,具有塑膠的部分耐水、耐撞等便利特性,常常運用於包材中,在特定環境下分解成有機質、水、二氧化碳💨。
但這類製品若還是添加了 #傳統塑膠成分(ex:PE聚乙烯、PP聚丙烯、PS聚苯乙烯、PVC聚氯乙烯),即使可分解部分真的分解了,不能分解的“傳統塑膠“部分依然留存,甚至是裂解為肉眼手腳無法收拾的塑膠微粒,反而更污染環境💥…因此下次使用前還是記得看成分喔~(抓抓
*另外還有『PLA聚乳酸塑膠』『生物基塑膠(biobased plastics)』等,特性各不相同,捧油有興趣可再研究~
-
『動畫背後邏輯與創意-臺灣吧知識轉譯力💡』
💡線上開課!https://lihi.cc/rU6z7
-
『✨!!!臺灣吧週更啦!!!✨』
🎫訂閱集資支持 → https://lihi.cc/Qug3R/e4pf
臺灣吧官網|https://lihi.cc/YoBVH/e4pf
臺灣吧TikTok|ID:taiwanbar_beer
黑啤 Beer IG|ID:taiwan_bar
biodegradable pp 在 Dek Thai Klai Baan เด็กไทยไกลบ้าน Facebook 的最讚貼文
เรารักแบรนด์ที่รักษ์โลก
ปกติถ้าซื้อหนังสือที่ Kinokuniya ผมจะขอให้น้องพนักงานใส่ถุงกระดาษให้ เพราะถุงกระดาษของที่ร้านหนา ทน และออกแบบได้คลาสสิกสไตล์ญี่ปุ่น เอาไปใช้ใส่อะไรต่อมิอะไรได้อีกมากมาย
คราวนี้ซื้อหนังสือเล่มเล็กหน่อยมาให้เป็นของขวัญเพื่อน ทางร้านเลยใส่ถุงพลาสติกใบนี้มาให้แทน
ทันทีที่คว้าถุงเดินออกจากเคาท์เตอร์แคชเชียร์ ผมรู้สึกรำคาญเสียงกรอบแกรบของถุงใบนี้มาก มันส่งเสียงออกมาดังกว่าถุงพลาสติกที่เคยถือทั่วไป
ตอนอยู่บนรถไฟฟ้า ผมพยายามเอาของต่างๆ ที่ซื้อมายัดใส่กระเป๋าเป้ให้เดินทางคล่องตัว เสียงขยับเจ้าถุงใบนี้พาเอาสายตานับสิบคู่หันมามองที่ผมพร้อมๆ กัน
กลับถึงบ้านผมหยิบถุงใบนี้ออกมาจากกระเป๋า แล้วก็เหลือบไปเห็นตัวหนังสือเล็กๆ สามสี่บรรทัดเขียนบรรยายเอาไว้
Please reuse this eco-green biodegradable bag to protect our environment (โปรดใช้ถุงที่ย่อยสลายทางชีวภาพใบนี้ซ้ำเพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวเรา)
Disposed by Sunlight, Heat, and Oxygen (ย่อยสลายภายใต้แสงอาทิตย์ ความร้อนและออกซิเจน)
ภาพตำราวิชาพอลิเมอร์ที่เคยเรียนมาย้อนขึ้นมาให้หัวผมทันที นี่มัน Polylactic acid (PLA) แน่นอน เป่าเป็นถุงสีขุ่นไม่ใส ย่อยสลายได้ ทนแรงดึงได้ประมาณหนึ่ง เสียงดังกว่า PE, PP
PLA ถือเป็นพลาสติกที่มีราคาสูง คุณสมบัติแพ้ polyolefin ทุกข้อ ดีอยู่อย่างเดียวคือย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ
ถ้าไม่กินอุดมการณ์เป็นอาหารหลักนี่ไม่มีใครเอา PLA มาทำเป็นถุงแบบนี้กันหรอกนะ แต่ Kinokuniya แม่งกล้าทำว่ะ นับถือจริงๆ
ต่อไปซื้อหนังสือจากที่นี่ จะใส่ถุงพลาสติกหรือถุงกระดาษผมคงไม่เกี่ยงแล้วแหละ
ก็มัน cool ทั้งสองแบบเลย !!!
biodegradable pp 在 DjFiat LinkCorner Facebook 的最佳貼文
กากเพชร สวยแต่ร้ายนักกก
กากเพชร ... สวยแต่ร้าย
ยาพิษเม็ดเล็กทำลายสิ่งแวดล้อม
--------------------------------------
... พี. มิซูกิ
แฟชั่นการตกแต่งหน้าตาเนื้อตัวด้วย “กลิตเตอร์” หรือ “กากเพชร” กลายเป็นกระแสนิยมร้อนแรง ซึ่งพบเห็นได้ดาษดาในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมา ทั้งในเทศกาลดนตรีใหญ่ๆ อย่าง โคเชลลาที่สหรัฐ แกลสตันบูรีในอังกฤษ รวมทั้งปาร์ตี้ แฟชั่นโชว์ หรือแม้แต่ในงานไพร์ดเพื่อเฉลิมฉลองสิทธิของบุคคลผู้มีความหลากหลายทางเพศที่จัดขึ้นเป็นประจำในหลายเมืองใหญ่ทั่วโลกช่วงเดือน ก.ค. ของทุกปี
เพราะสีสันและประกายวิบวับแวมวาวราวกับเพชร ทอง เงิน หรืออัญมณีมีค่า กลิตเตอร์จึงถูกนำมาประดับประดาเพื่อให้สะดุดตาและดึงดูดความสนใจ แต่ความสวยงามชั่วครั้งชั่วคราวนี้เป็นอันตรายต่อสุขภาพของสิ่งแวดล้อม สร้างผลกระทบรุนแรง และเนิ่นนานอย่างคาดไม่ถึง
พลาสติกชิ้นเล็กชิ้นน้อยอย่างกลิตเตอร์ หลังจากถูกชำระล้างออกจากร่างกายก็จะไหลลงแม่น้ำ ลำธาร และมหาสมุทร กลายเป็นส่วนหนึ่งของขยะพลาสติกที่ทิ้งลงสู่ท้องทะเลมากราว 8 ล้านตันต่อวัน เหมือนกับมีขยะ 1 รถบรรทุกถูกเทลงทะเลทุกๆ หนึ่งนาที โดยที่ 92% ของขยะเหล่านั้นเป็น "ไมโครพลาสติก" อย่าง กลิตเตอร์ รวมทั้งชิ้นส่วนของเส้นใยผ้า ถุงพลาสติกซึ่งย่อยสลายแตกเป็นชิ้นเล็กๆ เป็นต้น
เพราะขนาดเล็กมาก ไมโครพลาสติกจึงไม่สามารถถูกกรองได้ด้วยระบบบำบัดน้ำเสีย ทั้งยังย่อยสลายได้ยากจึงเป็นต้นเหตุของมลภาวะ ไมโครพลาสติกยังดูดซับสารปนเปื้อนซึ่งเป็นอันตรายที่มีอยู่ในน้ำทะเล เมื่อสัตว์ทะเลกลืนกินเข้าไปก็จะได้รับพิษ ทำให้มนุษย์ซึ่งรับประทานสัตว์ทะเลเกิดปัญหาด้านสุขภาพได้
ผลกระทบของขยะพลาสติกนั้นยั่งลึกและขยายวงออกไปกว้าง อย่างที่นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮัลล์และบริติชแอนตาร์กติกเซอร์เวย์ระบุไว้ในบทความบนหน้าวารสาร Science of the Total Environment ว่า ปัจจุบันมลภาวะพลาสติกในทวีปแอนตาร์กติการุนแรงมากกว่าคาดการณ์ถึง 5 เท่า และตัวการหลักก็คือ ไมโครพลาสติก ซึ่งพบมากขึ้นในสถานที่อันห่างไกลอย่างแอนตาร์กติกา และถ้าหากจำนวนไมโครพลาสติกไม่ลดลงจะทำให้เกิดปัญหากับระบบนิเวศน์อันเปราะบางของสัตว์ประจำถิ่นอย่าง วาฬ แมวน้ำ และ เพนกวิน ด้วย
กลิตเตอร์เป็นหนึ่งในไมโครพลาสติกซึ่งได้รับสมญานามว่า "ยาพิษเม็ดเล็ก" เช่นเดียวกันกับ “ไมโครบีดส์” หรือเม็ดทรายสังเคราะห์ที่ทำจากชิ้นส่วนพลาสติกขนาดเล็ก และมักจะนำไปผสมในผลิตภัณฑ์จำพวกสบู่ โฟมล้างหน้า สครับส์ ครีมโกนหนวด หรือแม้แต่ยาสีฟัน ซึ่งรัฐบาลบางประเทศได้ตื่นตัวตระหนักถึงอันตรายจึงสั่งไม่ให้ใช้นับตั้งแต่ปี 2015 เป็นต้นมา
ในปัจจุบันมีแบรนด์สินค้าจำนวนหนึ่งประกาศเลิกใช้กลิตเตอร์ในผลิตภัณฑ์ของพวกเขา บ้างก็หันไปเลือกใช้กลิตเตอร์แบบ พลาสติก-ฟรี หรือกลิตเตอร์ที่ไม่มี พอลิเอทิลีน เทเรฟทาเลต (PET), พอลิเอทิลีน (PE) หรือ พอลิโพรไพลีน (PP) เป็นส่วนประกอบ และบางผลิตภัณฑ์เลือกใช้พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ (Biodegradable Plastic) แทน
ถึงอย่างนั้นก็ดูเหมือนว่า การตระหนักรับรู้ถึงอันตรายของกลิตเตอร์จะยังไม่มากเพียงพอ แฟชั่นวิบวับประดับร่างกายจึงกลายเป็นกระแสร้อนแรงขึ้นมา ทำให้เกิดความกังวลใจ และตั้งคำถามว่า … ถึงเวลาที่ควรจะ “แบน” พลาสติกชิ้นเล็กชิ้นน้อยซึ่ง “สวยแต่ร้าย” อย่างกลิตเตอร์แล้วหรือยัง?
--------------------------------------
https://greennews.agency/?p=14458
biodegradable pp 在 PLA Sheet Extrusion Line Biodegradable Cornstarch PP ... 的推薦與評價
... <看更多>