" 安提瓜的歷史源於1524年建城,原本是馬雅時代的首府,當時馬雅領地包括了現今統稱的整個中美洲 (史稱Mesoamerica),15世紀出現了三次大地震,王國只有不停遷都,1541年水火山(Aqua Volcano) 爆發所引起的地震還將原本首府完全摧毀,最終第三次將首都遷移8公里至此--安提瓜城 (AntiguaGuatemala)。直至17世紀多場的嚴重地震...
(作者:Forever Friend)
-
編註:歡迎創作者將旅遊文章移至客棧主站發表
只要將部落格文章複製貼上,就能完成,還有機會在這裡被分享~
同時也有11部Youtube影片,追蹤數超過75萬的網紅志祺七七 X 圖文不符,也在其Youtube影片中提到,✔︎ 成為七七會員(幫助我們繼續日更,並享有會員專屬福利):https://bit.ly/3eYdLKp ✔︎ 訂閱志祺七七頻道: http://bit.ly/shasha77_subscribe ✔︎ 追蹤志祺IG :https://www.instagram.com/shasha77.daily...
「mesoamerica」的推薦目錄:
- 關於mesoamerica 在 背包客棧 Facebook 的最佳解答
- 關於mesoamerica 在 Leonardo DiCaprio Facebook 的最佳貼文
- 關於mesoamerica 在 The Wild Chronicles - ประวัติศาสตร์ ข่าวต่างประเทศ ท่องเที่ยวที่แปลก Facebook 的精選貼文
- 關於mesoamerica 在 志祺七七 X 圖文不符 Youtube 的最讚貼文
- 關於mesoamerica 在 Shiney Youtube 的最佳解答
- 關於mesoamerica 在 Shiney Youtube 的精選貼文
mesoamerica 在 Leonardo DiCaprio Facebook 的最佳貼文
At COP25 in Madrid, Central American governments, indigenous peoples, local communities, and NGOs joined together in an alliance to protect the five great forests of Mesoamerica.
The alliance highlighted the critical leadership role of indigenous peoples in forest conservation and announced governmental climate commitments of Costa Rica, Guatemala, Panama, Belize, Nicaragua, Honduras, and El Salvador.
This is the model we need during this climate crisis: a movement in which governments, civil society, and indigenous peoples communicate effectively and work side by side to save the planet.
#5GreatForests #Mesoamerica Wildlife Conservation SocietyGlobal Wildlife Conservation Comisión Centroamericana de Ambiente y Desarrollo (CCAD)
mesoamerica 在 The Wild Chronicles - ประวัติศาสตร์ ข่าวต่างประเทศ ท่องเที่ยวที่แปลก Facebook 的精選貼文
เรื่องจากกรุ๊ป การสังเวยของชาวแอซเท็ก
#การสังเวยชีวิตและบูชายัญมนุษย์ของชาวเอซเทค Aztec sacrifice
ประวัติแรกเริ่มของชาวเอซเทคนั้นไม่มีความชัดเจนเท่าใดนัก แต่คาดว่าน่าจะเป็นพวก nomadic tribe จากตอนเหนือของแมกซิโกที่เรียกว่า Aztlan หรือ “White Land” ในช่วงศรรตวัตที่ 13 มีเมืองหลักคือ Tenochtitlan จึงเรียกตัวเองว่าชาว Tenochca หรือ Mexica
เล่าขานกันมาว่า เมื่อชาวเอซเทคเห็นนกอินทรีไปเกาะต้นกระบองเพชร ในพื้นที่น้ำขังทางตอนใต้ของทะเลสาบ Texcoco พวกเขาถือว่าเป็นนิมิตรหมายอันดีที่จะตั้งรกราก จึงหาทางระบายน้ำออกแล้วสร้างพื้นที่เพาะปลูกที่เมือง Tenochtitlán ในปี 1325 โดยมีพืชผลหลักคือข้าวโพด ถั่ว มันฝรั่ง มะเขือเทศและอโวคาโด รวมไปถึงการล่าสัตว์ เช่น กระต่าย งู ไก่งวงป่า ตกปลา มีเทคนิคทางการเกษตรขั้นสูง และกองทัพที่ยิ่งใหญ่จนสามารถตั้งจักรวรรดิได้ จากเดิมที่เป็นแค่รัฐ มีความโดดเด่นทางโครงสร้างสังคม การเมือง ศาสนา และการชวนเชื่อที่แข็งแกร่งอันนำมาซึ่งรัฐศาสนาภายใต้อำนาจของเอซเทคช่วงศรรตวัตที่ 15 ก่อนจะถูกสเปนภายใต้การนำของ Hernan Cortes โจมตีและยึดเมือง Tenochtitlan ไว้ได้ในปี 1521 จึงเป็นที่สิ้นสุดของวัฒนธรรม Mesoamerica นับแต่นั้น
ชาวเอซเทคมีความเชื่อว่า มนุษย์ทุกคนติดค้าง”หนี้เลือด/ชีวิต”ต่อพระเจ้า และเพื่อหลีกเลี่ยงภัยหรือความเลวร้ายต่างๆ ก็ช่วยไม่ได้ที่จะต้องสังเวยอะไรสักอย่างคืนให้พระเจ้าไป ดั่งเพลงโบราณของชาวเอซเทคที่ว่า ”Huitzilopochtli (พระแห่งสงครามและดวงอาทิตย์)มาก่อนอื่นใด เขาไม่เหมือนใคร ข้าไม่อาจจะสรรเสริญพระองค์ได้ดีมากพอแม้จะยืนแถวหน้าด้วยเครื่องแต่งกายของบรรพบุรุษเรา – ข้าจึงเปล่งประกาย” จาก The Hymn of Huitzilopochtli แปลโดย Daniel G. Brinton
พระเจ้าของชาวเอซเทคมักจะเกี่ยวข้องกันกับเวลา ทิศทาง หรือสีสัน โดยทั่วๆไปแล้วชาวเอซเทคกลัวเรื่องวันสิ้นโลก และเรื่องเหนือธรรมชาติสำหรับพวกเขาที่พวกเขายังหาคำตอบไม่ได้ในเวลานั้น วิธีบูชาเล็กๆ ก็อาจจะแค่เอาอะไรทิ่มแทงตัวให้มีเลือดออก แต่การสังเวย Huitzilopochtli หรือองค์ที่มีความยิ่งใหญ่และสำคัญอื่นๆ จำต้องถึงชีวิต เพื่อให้ทุกสิ่งยังคงดำเนินตามปรกติ เช่น สังเวยเพื่อให้พืชผลงอกงาม เพื่อให้ฝนตก หรือเพื่อให้พรุ่งนี้พระอาทิตย์ขึ้นเหมือนเดิม เป็นต้น และการนับปฏิทินของพวกเขานั้น มีพื้นฐานมาจาก Mayan calendar อันประกอบด้วยรอบพิธีกรรมทุกๆ 260 วัน และรอบปรกติที่ 365 วัน รอบพิธีนั้นมี 2 วงโคจร มีหน้าที่บอกชื่อวันจำนวน 20 วัน และจัดลำดับวันที่ 1-13 ในวงจรของ 13 วันนี้มีความเกี่ยวเนื่องกับพิธีกรรมทางศาสนาอันเกี่ยวเนื่องกับเทพแต่ละองค์ ซึ่งเป็นที่มาหรือเกี่ยวพันกับชื่อของวัน ส่วนรอบปฏิทินปรกตินั้นมี 20 วันต่อ 1 เดือน และ 18 เดือนต่อ 1 ปี แต่ละเดือนก็มีรายละเอียดที่ต่างออกไป เช่น เดือน IX (9) Tlaxochimaco เทพHuitzilopochtli, Tezcatlipoca และ Mictlantecuhtli จะต้องบูชาด้วยการอดอาหาร หรือเดือน XII(12) อันเป็นเดือนแห่งเทพ Xochiquétzal จะต้องทำพิธีสังเวยด้วยไฟ เป็นต้น และทุกๆปีนั้นจะมีวันที่เพิ่มมา 5 วันเรียกว่า nemontemi หรือวันซวยแห่งปี และทั้งสองปฏิทินจะมาโคจรวงจนบรรจบครบกันทุกๆ 52 ปี เรียกว่า New Fire Ceremony ซึ่งจะมีการฉลองใหญ่
ดังนั้นมันจึงฟังเหมือนกับว่าการบูชาเทพเจ้าของชาวเอซเทคคือสิ่งจำเป็น ตัวผู้ถูกสังเวยจะถูกทาสี นำตัวไปยังแท่นแล้วควักเอาหัวใจออกมา ก่อนจะชูไปที่ท้องฟ้าเพื่อให้องค์ Huitzilopochtli พอใจ ส่วนร่างที่เหลืออาจจะถูกโยนลงไปในปิรามิดหรือวิหาร เอาไปให้สัตว์กิน เป็นของขวัญแก่ผู้มีอำนาจ หรือเก็บเฉพาะส่วนหัวไว้ตกแต่งสถานที่ การสังเวยอาจจะไม่ใช่แค่วิธีควักหัวใจอย่างเดียว แต่อาจจะเป็นการยิงผู้ถูกสังเวยด้วยธนู จับกดน้ำ เผา หรือทำให้เป็นชิ้นๆ การต่อสู้แบบ Roman gladiators ก็มีเช่นกันเพื่อบูชาเทพเจ้าเหล่านี้ ซึ่งน่าจะมีราวๆ ร้อยกว่าเทพ จึงเป็นสิ่งสำคัญดั่งตั๋วเบิกทางเพื่อจะได้ไปโลกหน้าและมีชีวิตหลังความตายได้สะดวกขึ้นและเป็นพร ส่วนการกินเนื้อมนุษย์ของชาวเอซเทคนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะเพราะร่างเหล่านั้นได้ “สัมผัส” กับเทพแล้วจึงถือว่า “holy” และเป็นเกียรติแก่ผู้ได้ลิ้มรส
ในฤดูใบไม้ผลิ จะเป็นเด็กๆที่ถูกสังเวยต่อองค์ Tlaloc เทพแห่งการเกิดใหม่และการเกษตร เพื่อขอให้ฝนตกและพืชผลเจริญเติบโต หากเด็กเกิดร้องในพิธีขึ้นมา แปลว่าจะมีฝนตลอดปี ดังนั้นจึงต้องหาอะไรแหลมๆ มาแทงเด็กเรื่อยๆ เพื่อให้ร้องไห้
ส่วนการบูชาเจ้าแม่ข้าวโพด ( the maize goddess ) นั้น ผู้หญิงจะแต่งตัวเป็น Xilonen ตามแบบดั้งเดิมแล้วก่อไฟเผาชาย 4 คนที่เป็นเชลยตรงหน้าทั้งเป็น แล้วตัวเธอจะถูกสังเวยต่อด้วยการโดนตัดหัวบนร่างของ 4 คนที่โดนเผานั้น เพื่อให้เลือดเธอโชติช่วงอยู่ในกองไฟ
สำหรับเทพ Tezcatlipoca ซึ่งเป็นเทพแห่งพลัง ราตรี โชคชะตา และทิศเหนือ ผู้ถูกสังเวยจะต้องสู้แบบโรมันกับอัศวินจากัวร์และนักรบอินทรีที่มาพร้อมเกราะเต็มยศถึง 4 คนด้วยอาวุธเห่ยๆ จึงเป็นอันสรุปได้ว่าไม่น่าจะรอด ผู้ถูกสังเวยต่อเทพ Tezcatlipoca อีกแบบอาจจะเป็นคนรุ่นๆ ที่ต้องแต่งตัวเลียนแบบเทพองค์นี้ตลอดทั้งปี เสมือนดั่งตัวแทนเทพมาจุติบนโลก อาจจะได้รับรางวัลเป็นหญิงสาว 4 คนไว้ปรนิบัติจนกว่าจะถึงเวลาบูชายัณ
ว่ากันว่า แม้จะเป็นเรื่องยากที่จะคาดเดาว่ามีผู้ที่สังเวยชีวิตไปเท่าไหร่กันแน่ แต่ในปี 1487 มีการบูชาครั้งใหญ่เป็นเวลา 4 วันที่ the great Templo Mayor มีการประเมินคร่าวๆตั้งแต่ 10.000 จนอาจจะถึง 80.400 รายเฉพาะภายในระยะเวลาดังกล่าว แต่จากการคาดคะเนคิดว่าน่าจะหลักหลายพันถึงหมื่นต่อปี
คนที่จะถูกนำไปสังเวยนั้นเป็นคนของอาณาจักรเอซเทคเอง ทั้งสมัครใจและไม่สมัครใจ หรืออาจจะเป็นเชลยก็ได้ มีการทำสงครามกันแต่จุดประสงค์ไม่ใช่เพื่อแย่งดินแดนแต่อย่างใด หากแต่มุ่งไปที่ทรัพยากรมนุษย์เพื่อเอามาบูชาเทพเจ้า ดังนั้นจึงจะไม่ฆ่าเชลยที่ถูกจับมาให้ตาย แต่จะเอามาเพื่อบูชายัญแทน (the Aztec flower war / flowery war ) เช่นตอนที่เอซเทคไปตีเมือง Tlaxcala แทนที่จะเข้าไปครอบครองก็กลับเลี้ยงไว้เพื่อทำฟาร์มมนุษย์สำหรับการนี้ ก็น่าจะเป็นเหตุผลนึงที่ทำให้แพ้ทหารสเปนในเวลาต่อมา เพราะไม่ได้เคยสู้เต็มรูปแบบจริงๆสักที หากแต่ว่าต้องการเอาคนเป็นๆมาทำพิธีมากกว่า ดังนั้น ตอนที่พวกสเปนบุก จึงเป็นชาว Tlaxcala นั่นเองที่ร่วมกันสมคบกับสเปนไปตีเอซเทคจนราบคาบ
ผู้ถูกสังเวยอาจจะเป็นทาสที่ไม่มีปากมีเสียงใดๆ ทาสเหล่านี้อาจจะถูกขายออกมาเองจากครอบครัวของทาส หรือขายตัวเองมาเป็นทาสก็ได้ เพราะมักจะฐานะยากจน ทาสคนไหนขี้เกียจหรือทำผิด หรืออาจจะเป็นนักโทษ เจ้านายหรือผู้มีอำนาจก็จะส่งตัวทางไปร่วมพิธีสังเวยแทนเป็นการลงโทษ ส่วนเด็กๆ ที่ถูกฆ่าเพื่อบูชาเทพ Tlaloc นั้น นักบวชอาจจะซื้อมาจากครอบครัวใดครอบครัวนึง หรืออาจจะเป็นลูกของผู้มีฐานะหรือ high born ก็ได้เช่นกัน หากชายใดเกิดร้องไห้ หรือเป็นลม กลัว ระหว่างที่รอพิธีสังเวยนั้นก็จะถูกด่าว่า “ทำตัวเป็นผู้หญิงไปได้” จึงเป็นข้อสังเกตว่า หากผู้ถูกสังเวยเป็นหญิงแล้วมีอาการกลัวดังกล่าวคงไม่น่าจะโดนตำหนิแต่อย่างใด
สถาบัน National Institute of Anthropology and History (INAH) ได้ค้นพบซากกระดูกและกระโหลกที่ยังคงหลงเหลือภายใต้ตัวตึกของบ้านซึ่งเคยตั้งอยู่ในช่วงเอซเทค ที่ปัจจุบันกลายเป็นสนามหญ้าของวิหาร Mexico City's cathedral ในปี 2015 วางเรียงเป็นแถวอย่างมีระเบียบและขนาดของพื้นที่สามารถจุได้มากกว่า 1000 กระโหลก จึงอาจกล่าวได้ว่าเอซเทคคือแหล่งอุตสาหกรรมการบูชายัญที่ไม่เหมือนที่อื่นใดในโลก ปัจจุบันพวกเขากำลังศึกษารายละเอียดย่อยของแต่ละชิ้นเพื่อหวังว่าจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับการสังเวยในช่วงเวลาดังกล่าวและความเป็นมาเกี่ยวกับช่วงก่อนที่ผู้สังเวยจะมาจบชีวิตลงที่ the Templo Mayor มากขึ้น
#PaulskiMNP5245
mesoamerica 在 志祺七七 X 圖文不符 Youtube 的最讚貼文
✔︎ 成為七七會員(幫助我們繼續日更,並享有會員專屬福利):https://bit.ly/3eYdLKp
✔︎ 訂閱志祺七七頻道: http://bit.ly/shasha77_subscribe
✔︎ 追蹤志祺IG :https://www.instagram.com/shasha77.daily
✔︎ 來看志祺七七粉專 :http://bit.ly/shasha77_fb
✔︎ 如果不便加入會員,也可從這裡贊助我們:https://bit.ly/support-shasha77
(請記得在贊助頁面留下您的email,以便我們寄送發票。若遇到金流問題,麻煩請聯繫:service@simpleinfo.cc)
#酪梨 #墨西哥
各節重點:
00:00 前導
01:13 酪梨的歷史
02:14 酪梨變身「綠色黃金」!
04:07 連毒梟都改行
05:30 「綠色黃金」淪為「血酪梨」
06:20 農民的抵抗
07:25 其他地區的酪梨農,也各有困難
08:33 我們的觀點
10:16 提問
【 製作團隊 】
|企劃:蛋糕說話時屑屑請閉嘴、宇軒
|腳本:蛋糕說話時屑屑請閉嘴
|編輯:土龍
|剪輯後製:Pookie
|剪輯助理:范范
|演出:志祺
——
【 本集參考資料 】
→ “Blood Avocados”: The Dark Side of Your Guacamole:https://bit.ly/3hlmIyL
→ 40位中西醫嚴選健康食物,教你排毒減肥、防癌抗老,愈吃愈年輕:https://bit.ly/3hAQmjN
→ 地球圖輯隊:「血酪梨」:餐桌上的酪梨 背後比你想的血腥:https://bit.ly/3hq5XCA
→ 美國人的超級美食,墨西哥人以悲劇澆灌的血酪梨:https://bit.ly/2WDQtTx
→ Are Mexican avocados the world's new conflict commodity?:https://bit.ly/3jvIDVF
→ Avocado History - Domestication and Spread of Avocado Fruit:https://bit.ly/2CyTm0U
→ Avocado: the 'green gold' causing environment havoc:https://bit.ly/32GzAvh
→ Avocados in Kenya: what’s holding back smallholder farmers:https://bit.ly/3jrCbyV
→ Blood Avocados No More: Mexican Farm Town Says It's Kicked Out Cartels:https://n.pr/30DXIfe
→ Boycotting Avocados Won’t Hurt Cartels:https://nyti.ms/39ixrHj
→ Can hipsters stomach the unpalatable truth about avocado toast?:https://bit.ly/2WL9gw7
→ Can You Eat Too Much Avocado? The answer from a functional medicine dietitian:https://cle.clinic/2CAncCm
→ Dillehay, T. D., Goodbred, S., Pino, M., Sánchez, V. F. V., Tham, T. R., Adovasio, J., ... & Piperno, D. (2017). Simple technologies and diverse food strategies of the Late Pleistocene and Early Holocene at Huaca Prieta, Coastal Peru. Science Advances, 3(5), e1602778.
→ Kenya's ground-down coffee farmers switch to avocado amid global boom:https://reut.rs/2Cr9bHd
→ María Elena Galindo-Tovar, Amaury M. Arzate-Fernández, Nisao Ogata-Aguilar, and Ivonne Landero-Torres ""The Avocado (Persea Americana, Lauraceae) Crop in Mesoamerica: 10,000 Years of History,"" Harvard Papers in Botany 12(2), 325-334, (1 December 2007). :https://bit.ly/32E5rg5
→ Mexican X-plainer: Balls, Nuts & Avocados:https://bit.ly/39mOoQT
→ Mexico avocados big in China:https://bit.ly/3eQPwgE
→ Revealed: the enormous carbon footprint of eating avocado:https://bit.ly/2OMvute
→ Robinson, D. The Avacado. Ethnobotanical Leaflets, 1998(1), 3.
→ Stanford, L. Constructing ``quality'': The political economy of standards in Mexico's avocado industry. Agriculture and Human Values 19, 293–310 (2002). :https://bit.ly/3fTHnK2
→ The Aztecs: A History Ripe with Avocados:https://bit.ly/32HbzUJ
→ The global avocado crisis and resilience in the UK’s fresh fruit and vegetable supply system:https://bit.ly/3eXPkwx
→ U.S. Lifts Ban on Avocados From Mexico:https://lat.ms/2Bp8ihM
→ Why Avocados Attract Interest Of Mexican Drug Cartels:https://wbur.fm/3jsSn2W
→ Why our love for avocados is not sustainable:https://bit.ly/30CZb5w
【 延伸閱讀 】
→ 一次搞懂世界上最營養的水果!品種挑選、賞味時機:https://bit.ly/3eNKbac
→ 《種台灣酪梨》客家新聞雜誌第611集:https://bit.ly/3fVhMQM
→ 草地狀元-安全酪梨育成專家(20180903播出):https://bit.ly/2OYLRTT
→ ""Rotten"" The Avocado War:https://bit.ly/2WL4Cyf
\每週7天,每天7點,每次7分鐘,和我們一起了解更多有趣的生活議題吧!/
🥁七七仔們如果想寄東西關懷七七團隊與志祺,傳送門如下:
106台北市大安區羅斯福路二段111號8樓
🔶如有業務需求,請洽:hi77@simpleinfo.cc
🔴如果影片內容有誤,歡迎來信勘誤:hey77@simpleinfo.cc
mesoamerica 在 Shiney Youtube 的最佳解答
Shadow of the Tomb Raider Ending พากย์ไทย แปลไทย PC
Shadow of the Tomb Raider is an upcoming action-adventure video game developed by Eidos Montréal in conjunction with Crystal Dynamics and published by Square Enix. It continues the narrative from the 2013 game Tomb Raider and its sequel Rise of the Tomb Raider, and is the twelfth mainline entry in the Tomb Raider series. The game is set to release worldwide on 14 September 2018 for Microsoft Windows, PlayStation 4 and Xbox One.
Set two months after the events of Rise of the Tomb Raider, its story follows Lara Croft as she ventures through Mesoamerica and South America to the legendary city Paititi, battling the paramilitary organization Trinity and racing to stop a Mayan apocalypse she has unleashed. Lara must traverse the environment and combat enemies with firearms and stealth as she explores semi-open hubs. In these hubs she can raid challenge tombs to unlock new rewards, complete side missions, and scavenge for resources which can be used to craft useful materials.
Development began in 2015 following the completion of Rise of the Tomb Raider, lasting until July 2018. Shadow of the Tomb Raider was designed to conclude Lara's journey begun in the 2013 reboot, with a key theme being descent both through the jungle environment and into her personality. The setting and narrative was based on Mayan and Aztec mythologies, consulting historians to design the architecture and people of Paititi. The gameplay was adjusted based on both fan feedback and the wishes of Eidos Montréal, incorporating swimming and grappling while increasing difficulty tailoring. Camilla Luddington returned to provide voice and motion-capture work for Lara.
mesoamerica 在 Shiney Youtube 的精選貼文
Shadow of the Tomb Raider พากย์ไทย แปลไทย PC
Shadow of the Tomb Raider is an upcoming action-adventure video game developed by Eidos Montréal in conjunction with Crystal Dynamics and published by Square Enix. It continues the narrative from the 2013 game Tomb Raider and its sequel Rise of the Tomb Raider, and is the twelfth mainline entry in the Tomb Raider series. The game is set to release worldwide on 14 September 2018 for Microsoft Windows, PlayStation 4 and Xbox One.
Set two months after the events of Rise of the Tomb Raider, its story follows Lara Croft as she ventures through Mesoamerica and South America to the legendary city Paititi, battling the paramilitary organization Trinity and racing to stop a Mayan apocalypse she has unleashed. Lara must traverse the environment and combat enemies with firearms and stealth as she explores semi-open hubs. In these hubs she can raid challenge tombs to unlock new rewards, complete side missions, and scavenge for resources which can be used to craft useful materials.
Development began in 2015 following the completion of Rise of the Tomb Raider, lasting until July 2018. Shadow of the Tomb Raider was designed to conclude Lara's journey begun in the 2013 reboot, with a key theme being descent both through the jungle environment and into her personality. The setting and narrative was based on Mayan and Aztec mythologies, consulting historians to design the architecture and people of Paititi. The gameplay was adjusted based on both fan feedback and the wishes of Eidos Montréal, incorporating swimming and grappling while increasing difficulty tailoring. Camilla Luddington returned to provide voice and motion-capture work for Lara.
mesoamerica 在 Mesoamerican civilization | History, Olmec, & Maya | Britannica 的相關結果
Mesoamerican civilization, the complex of indigenous cultures that developed in parts of Mexico and Central America prior to Spanish exploration and ... ... <看更多>
mesoamerica 在 Mesoamerica, an introduction (article) | Khan Academy 的相關結果
Mesoamerica refers to the diverse civilizations that shared similar cultural characteristics in the geographic areas comprising the modern-day countries of ... ... <看更多>
mesoamerica 在 Mesoamerica - Wikipedia 的相關結果
Mesoamerica is a historical and important region and cultural area in southern North America and most of Central America. It extends from approximately ... ... <看更多>