“โพสต์โมเดริ์นนิสซึม”
โดยนัฐวุฒิ สิงห์กุล
ความหมายของแนวความคิดหลังทันสมัยหรือหลังสมัยใหม่
ความคิดแบบหลังสมัยใหม่หรือPostmodernism เป็นการเปิดมุมมองที่หลากหลายด้านและหลายมิติ ซึ่งมองความแผ่ซ่านของอำนาจ ความรู้ ภาษาและวาทกรรมที่มีอิทธิพลเหนือชีวิตของผู้คนในยุคปัจจุบัน โดยความคิดแบบหลังสมัยใหม่ถูกมองออกเป็น 2 ลักษณะคือ ลักษณะแรกมองว่า ยุคโมเดิร์นผ่านพ้นไปแล้วหรือกำลังจะผ่านไปและยุคโพสต์โมเดิร์นกำลังจะเข้ามาแทนที่ ลักษณะทีสอง มองว่า ยุคโมเดิร์นยังคงอยู่แต่โพสต์โมเดิร์นออกมาท้าทายความความคิดความเชื่อแบบโมเดิร์น โดยให้ความสำคัญกับประสบการณ์ เน้นถึงความสำคัญของชีวิตประจำวันซึ่งสอดคล้องกับปรากฏการณ์ทางสังคม โดยแนวความคิดแบบโพสต์โมเดิร์นได้ท้าทายประเด็นทางวิชาการในเรื่องต่างๆดังนี้
1.การเคลื่อนตัวของการมองและการศึกษาในประเด็นทางเศรษฐกิจและการเมืองแบบโพสต์โมเดิร์น จากสังคมที่มีศูนย์กลางอยู่ที่การผลิตมาสู่สังคมบริโภคนิยมที่ตลาดก้าวมาเป็นจุดศูนย์กลางทางวัฒนธรรมแทนที่สิทธิอำนาจทางการเมือง
การบริโภคสัญญะแบบโพสต์โมเดิร์น ไม่ใช่เพียงการบริโภคเพื่อประโยชน์ใช้สอย(Use value)แต่เป็นการบริโภคเพื่อสื่อความหมายถึงบางอย่าง(Sign value) เช่น สถานะของเรา ตัวตนของเรา รสนิยมของเรา ภาพพจน์ของเรา เป็นต้น ดังเช่น ความคิดของ Jean Baudrillard มองว่าก่อนตัวสินค้าจะถูกบริโภคจะต้องถูกเปลี่ยนเป็นสัญญะก่อน โดยมีรหัส (Code)ต่างๆในการแปลงสินค้าให้เป็นสัญญะ(Sign) เช่น การมีลำดับชั้น การทำให้สินค้าเป็นเกรด A B C เพื่อทำให้สินค้าทำหน้าที่เป็นสื่อทางวัฒนธรรมและได้แสดงให้เห็นสถานภาพเกียรติยศของผู้ใช้ สิ่งเหล่านี้คือการสร้างตรรกะของความแตกต่าง( Logic of Difference) มากกว่าตรรกะเชิงอรรถประโยชน์( Logic of utility )
2.การท้าทายปฏิเสธเรื่องเล่าแบบ Master/Grand narrative หรือคำอธิบายที่ทรงอำนาจ เป็นหัวใจของความรู้ แต่โพสต์โมเดิร์นไม่ยอมให้เรื่องเล่าใดกลายเป็นแม่แบบหรือเป็นหลักครอบงำ การครอบงำอุดมการณ์ไม่ใช่เกิดจากรัฐเท่านั้น รวมถึงแวดวงวิชาการ วิชาชีพ หรือแม้แต่ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนด้วยกันเองด้วย
3.ศิลปะแบบโพสต์โมเดิร์น ปฏิเสธศิลปะแบบโมเดิร์นที่มองว่า ศิลปินคือผู้ที่สร้างความแปลกใหม่ ความริเริ่มสร้างสรรค์และลักษณะเฉพาะตัว ศิลปะคืองานสูงส่ง แต่จริงๆแล้วศิลปะแขนงต่างๆไม่สามารถแยกออกจากการค้าได้
4.วรรณกรรมแบบโพสต์โมเดิร์นยุคโมเดิร์นให้อำนาจกับผู้อ่าน นักเขียน แต่โพสต์ฯมองว่า ตัวบทและงานเขียนมีชีวิตในตัวมันเองเป็นอิสระไม่ขึ้นอยู่กับเจตนารมณ์ของนักเขียนอีกต่อไป ตัวบทจึงเป็นสิ่งที่เปิดกว้างสำหรับการตีความและมีหลายความหมาย
5.ประวัติศาสตร์แบบโพสต์โมเดิร์น โมเดิร์นเน้นการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างเป็นวัตถุวิสัย โพสต์ฯต้องเปลี่ยนมาสู่การให้ความสนใจกับพื้นที่และเวลามากขึ้น สนใจประวัติศาสตร์ในชีวิตประจำวัน ที่เป็นตัวสะท้อนหรือบอกเล่าเรื่องราวของมนุษย์
โดยสรุปในทางวิชาการ คำว่า Post-Modern สามารถใช้ประกอบกับสิ่งต่างๆหรือถูกใช้ในลักษณะต่างๆกัน สามารถเป็นทั้งคำคุณศัพท์ ประกอบคำนาม คำขยายคำนามที่แตกต่างกัน ก็จะมีนัยที่แตกต่างกัน ใช้ทั้งในวงวิชาการ สังคม เศรษฐศาสตร์และ ศิลปะ เป็นต้น
วิชาการในแนวโพสต์โมเดิร์น คือวิชาการที่มีปฏิบัติสัมพันธ์ในเชิงวิพากษ์ (Critical Interaction) กับวิชาการแนวสมัยใหม่ ซึ่งปฏิสัมพันธ์มีความสำคัญมาก วิชาการแบบPost-Modern ไม่ได้เกิดขึ้นลอยๆในตัวของมันเองแต่มันเกิดจากการวิพากษ์กับวิชาการอื่นๆโดยแนวคิดแบบโพสต์โมเดิร์นจะยืนอยู่โดยปราศจากโมเดิร์นไม่ได้ ถ้าหลุดจากปฏิสัมพันธ์กับตัวนี้ ก็จะหมดความหมายหรือความสำคัญลงไป
สังคมหลังสมัยใหม่คือสังคมที่เกิดจากความแปรปรวนของสภาวะคุณค่า ความหมาย ที่ถูกสถาปนาในสังคมสมัยใหม่ เช่น เรื่องเสรีภาพ จิตสำนึก ความสงบสุข ซึ่งคุณค่าเหล่านี้เคยได้รับการหล่อเลี้ยงจากสังคมทุนนิยมอุตสาหกรรมแบบโมเดิร์น เมื่อพัฒนามาถึงระบบหนึ่ง (Late-Capitalism) ทุนนิยมขั้นล่าสุด ขั้นปลาย สังคมโมเดิร์นก็จะกลืนกินสิ่งเหล่านี้ โดยใช้เป็นแค่เพียงคำพูดใหม่ๆกลวงๆที่ไม่มีคุณค่า ความหมาย เกิดความเฟ้อ เรื่องเสรีภาพ ประโยชน์สุข ค่านิยม ที่มองความสดสวยงดงาม ความฟุ้งเฟ้อที่มากมายจะระเบิดออกมาโดยไม่ใช่การระเบิดจากภายนอก แต่เป็นสิ่งที่นักวิชาการโดยเฉพาะสิ่งที่ Jeans Baudrillard เรียกว่า การระเบิดเข้าสู่ภายใน (Implosion)
ในสภาวะปัจจุบันคำว่าโพสต์โมเดิร์นถูกใช้ในความหมายเกี่ยวกับสังคมแบบโพสต์โมเดิร์น (Post modern society) กับวิชาการแนวโพสต์โมเดิร์น( Post modern Scholarship) ที่มีความหมายแตกต่างกันหลายนัยยะ
สังคมแบบโพสต์โมเดิร์น วิพากษ์และตั้งคำถามต่อสังคมแบบโมเดิร์น ที่เมื่อพูดถึงสังคมสมัยใหม่ เรามักจะพูดถึงนัยของสภาวะสังคมนั้นในทางลบ เช่น การทำสงครามล้างเผ่าพันธุ์ การใช้และทำลายสิ่งแวดล้อมอย่างมหาศาล การพัฒนาอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดมลพิษ ที่นำไปสู่ความทุกข์ทรมานของมนุษย์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ และมีนัยทางเหยียดหยาม มันเป็นสภาวการณ์แบบPost-Modern ที่แปรปรวนและสับสนในความเป็นมนุษย์และตัวตนของมนุษย์ที่พร่าเลือนและเป็นตัวตนที่ถูกประกอบสร้างอย่างบิดเบี้ยว ผิดส่วน หลากหลาย เป็นลักษณะแบบหัวมังกุดท้าย
มังกร(ECLECTICISM) ที่ผสมปนเปกันไปจนแทบจะหารากเหง้าหรือจุดกำเนิดไม่พบ ดังเช่นวิถีชีวิตของผู้คนไทยในปัจจุบัน อาจจะบริโภคแมคโดนัลด์ ดูรายการเอ็มทีวี ดูละครจักรๆวงศ์ๆ ดูซีรี่เกาหลี ทำให้ตัวตนของความเป็นไทยถูกทำให้พร่าเลือนด้วยวัฒนธรรมแบบเกาหลี อเมริกัน เป็นต้น ดังนั้นความจริงของมนุษย์หรือความเป็นมนุษย์จึงเป็นสิ่งที่ถูกประกอบสร้างอยู่ตลอดเวลา
ในขณะเดียวกันวิชาการแนวโพสต์โมเดิร์น มีความลุ่มลึกซับซ้อน หลากหลายมิติ มีชั้นเชิงในการมองวิถีชีวิตของผู้คนและปรากฏการณ์ของสังคม รวมทั้งไม่ยึดติดกับวิชาการแนวโมเดิร์นหรือสมัยใหม่
วิชาการแนวหลังสมัยใหม่มันมาตรวจจับวิชาการแนวโมเดิร์น ซึ่งไม่มีเครื่องมือที่เพียงพอกับกับการเท่าทันกับปรากฏการณ์ของสิ่งเหล่านี้ เครื่องมือแบบโมเดิร์นอธิบายการบริโภคนิยมแบบยุคปัจจุบัน แบบโพสต์โมเดิร์นไม่ได้เพราะเครื่องมือของโมเดิร์น ก็เป็นเรื่องที่เน้นอรรถประโยชน์สูงสุด จึงไม่สามารถอธิบายกระบวนการกลายพันธุ์จากสภาวะสมัยใหม่ไปสู่ภาวะหลังสมัยใหม่ได้ วิธีการแนวโพสต์โมเดิร์นสามารถเอาไปใช้ในการศึกษาสังคมโมเดิร์นเองก็ได้ก่อนโมเดิร์น(Pre-Modern) ก็ได้ หรือศึกษาสังคมแบบอื่นๆ ที่ว่าก็ทำให้เกิดประเด็นที่แหลมคมหลากหลายมิติ
ดังนั้นอาจสรุปได้ว่าโพสต์โมเดิร์นมี 2 ความหมาย คือ ความหมายทางสังคม กับความหมายทางวิชาการ อีกแนวหนึ่งที่แยกออกมาคือ โพสต์โมเดิร์นในงานศิลปะและสถาปัตยกรรม ที่เรียกว่าศิลปะแนวหลังสมัยใหม่ ซึ่งเป็นศิลปะในขนบที่สนใจและจงใจจะหักล้างคติความเชื่อทางศิลปะแบบโมเดิร์น ที่จะลบล้างคติแบบที่พยายามแบ่งแนวและสกุลของงานศิลปะชัดเจน เป็นแนว Romantic ,Realistic ,High-Modern, classic ,abstract ประติมากรรมสามมติ เป็นต้น
ศิลปะโพสต์โมเดิร์น พยายามลบล้างพรมแดน ชนิดของศิลปะ ประเภทของศิลปะ มีการนำมาใช้ปะปนกัน ลบล้างพรมแดนของวัสดุ ลบล้างพรมแดนของศิลปะชั้นสูง ศิลปะแบบชาวบ้าน ศิลปะปัญญาชน (High-Art ,Low-Art)และความเป็นศิลปิน ไม่ใช่ศิลปิน ศิลปะ ไม่ใช่ศิลปะ
โดยความเป็นศิลปิน ในความหมายแบบโมเดิร์น ถูกจำกัดและขุมขังนิยาม ความหมายภายใต้ว่าคือผู้มีญาณ มีวิสัยทัศน์ ของการเล็งเห็น และการถ่ายทอดที่สูงส่งกว่าคนอื่นๆ ในขณะที่กระแสแนวความคิดแบบโพสต์โมเดิร์น มองว่า ศิลปินแบบนั้นไม่มี อย่างมากก็เป็นเพียงช่างฝีมืออย่างหนึ่ง ไม่ใช่อัจฉริยะ (Genious) ศิลปะชั้นสูงกับศิลปะชาวบ้านก็เลยละลายปะปนกันไปหมดไม่มีใครเหนือกว่า หรือมีอำนาจชี้ขาดคนอื่นๆรวมทั้งการทลาย ลบเลือนพรมแดนหรือเส้นแบ่งระหว่างความเป็นศิลปะ(Art)กับสิ่งที่ไม่ใช่ศิลปะ(Non-Art) ตีวอย่างเช่น การเอาผืนผ้าว่างเปล่ามาแสดง เอาแก้วน้ำมาวางบนบอร์ด เอาอาหารกระป๋องสำเร็จรูปมาจัดเรียงเป็นชั้น นั่นคือ วิธีการทำสิ่งที่ไม่ใช่ศิลปะเอาขยะ เอาวัสดุในกระบวนการผลิตซ้ำของระบบทุนนิยมให้เป็นงานศิลปะ สิ่งเหล่านี้เกิดจากกระบวนการทางความรู้และอำนาจ ที่เรียกว่า วาทกรรมที่ว่าด้วยศิลปะ ตัวอย่างเช่น ถ้าข้างหน้าติดป้ายว่าเป็นแกลอรี่ ( Gallery ) ข้างในก็ต้องเป็นเป็นงานศิลปะ (Arbitraness) ตามอำเภอใจ ดังนั้นสิ่งที่รายรอบชิ้นงานคือวาทกรรม ที่ทำให้สิ่งที่ไม่ใช่ศิลปะกลายเป็นศิลปะ สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นในวงการที่เป็นศิลปะหลังสมัยใหม่ สิ่งที่ทำทั้งหลายทั้งปวงเป็นสิ่งที่เรียกว่า ECLECTICISM คือ การเอาสิ่งต่างๆมาปะปนกันผสมปนเปกันเพื่อจงใจท้าทายคติคิดแบบโมเดิร์น
post capitalism 在 李怡 Facebook 的最讚貼文
No Forbidden Zones in Reading (Lee Yee)
German philosopher Hegel said, “The only thing we learn from history is that we learn nothing from history.”
In April 1979, the post-Cultural Revolution era of China, the first article of the first issue of Beijing-based literary magazine, Dushu [meaning “Reading” in Chinese]," shook up the Chinese literary world. The article, titled “No Forbidden Zones in Reading”, was penned by Li Honglin. At the time, the CCP had not yet emerged from the darkness of the Cultural Revolution. What was it like in the Cultural Revolution? Except for masterpieces by Marx, Engels, Lenin, Stalin and Mao, and a small fraction of practical books, all books were banned, and all libraries were closed. The Cultural Revolution ended in 1976, and 2 years later in 1978, the National Publishing Bureau decided to allow 35 books to be “unbanned”. An interlude: When the ban was first lifted, there was no paper on which to print the books because the person with authority over paper was Wang Dongxing, a long-term personal security of Mao’s, who would only give authorization to print Mao. The access to use paper to print books other than Mao was a procedural issue. The Cultural Revolution was already on its way to be overturned. The door to printing these books was opened only after several hang-ups.
“No Forbidden Zones in Reading” in the first issue of Dushu raised a question of common sense: Do citizens have the freedom to read? “We have not enacted laws that restrict people’s freedom of reading. Instead, our Constitution stipulates that people have the freedom of speech and publication, as well as the freedom to engage in cultural activities. Reading ought to be a cultural activity,” argued Li. It was not even about the freedom of speech, but simply reading. Yet this common sense would appear as a subversion of the paralyzing rigid ideas formulated during the Cultural Revolution, like a tossed stone that raises a thousand ripples. Dushu’s editorial department received a large number of objections: first, that there would be no gatekeeper and mentally immature minors would be influenced by trashy literature; second, that with the opening of the Pandora box, feudalism, capitalism and revisionism would now occupy our cultural stage. The article also aroused waves of debates within the CCP. Hu Yaobang, then Minister of Central Propaganda, transferred and appointed Li Honglin as the Deputy Director of the Theory Bureau in his department. A colleague asked him directly, “Can primary school students read Jin Pin Mei [also known in English as The Plum in the Golden Vase, a Chinese novel of manners composed in late Ming dynasty with explicit depiction of sexuality]?”
“All Four Doors of the Library Should be Open” was published in the second issue of Dushu, as an extension to “No Forbidden Zones in Reading”. The author was Fan Yuming, but was really Zeng Yansiu, president of the People’s Publishing House.
In the old days, there was a shorthand for the three Chinese characters for “library”: “book” within a “mouth”. The four sides of the book are all wide open, meaning that all the shackles of the banned books are released. “No Forbidden Zones in Reading” explains this on a theoretical level: the people have the freedom to read; “All Four Doors of the Library Should be Open” states that other than special collection books, all other books should be available for the public to loan.
The controversy caused by “No Forbidden Zones in Reading” lasted 2 years, and in April 1981, at the second anniversary of Dushu, Director of the Publishing Bureau, Chen Hanbo, penned an article that reiterated that there are “No Forbidden Zones in Reading”, and that was targeting an “unprecedented ban on books that did happen”.
Books are records of human wisdom, including strange, boring, vulgar thoughts, which are all valuable as long as they remain. After Emperor Qin Shihuang burned the books, he buried the scholars. In history, the ban on books and literary crimes have never ceased.
Engraved on the entrance to Dachau concentration camp in Germany, a famous poem cautions: When a regime begins to burn books, if it is not stopped, they will turn to burn people; when a regime begins to silent words, if it is not stopped, they will turn to silent the person. At the exit, a famous admonishment: When the world forgets these things, they will continue to happen.
Heine, a German poet of the 19th century, came up with “burning books and burning people”. There was a line before this: This is just foreplay.
Yes, all burning and banning of books are just foreplay. Next comes the literary crimes, and then “burning people”.
I started working at a publishing house with a high school degree at 18, and lived my entire life in a pile of books. 42 years ago, when I read “No Forbidden Zones in Reading” in Dushu, I thought that banned books were a thing of the past. Half a century since and here we are, encountering the exact same thing in the freest zone for reading in the past century in the place which enlightened Sun Yat-sen and the rest of modern intellectuals, a place called Hong Kong.
Oh, Hegel’s words are the most genuine.
post capitalism 在 堅離地城:沈旭暉國際生活台 Simon's Glos World Facebook 的最讚貼文
🇪🇺 恭喜同事陳偉信榮升博士,除了推介這篇文章,這幅古地圖也大有名堂,來自1942年美國人繪製的「二戰勝利後新秩序地圖」。這幅地圖中,有四大軍事強國:美、英、蘇、「南美合眾國」,其他都是非軍事區,包括佔有印度支那的「中華合眾國」,至於德意日三大戰敗國則被隔離處理......
▶️ 博爾頓的核彈:特朗普的中國情結
https://www.youtube.com/watch?v=aFt5UBeFh_8
⏺ Patreon: www.patreon.com/simonshen
[#Postwar #US #China #EU #Disinformation #Capitalism #PeacefulTransition #LiberalWorldOrder]
受《信報》邀請,寫二戰終戰75年及戰後體制的分析,以及對今後國際關係的啟示,也算是為今日的 #EuropeDay 留一些印記,煩請指正。
圖︰Maurice Gomberg Post-War New World Map
當然,如果想聽聲同更多的分析,可以到The Glocal Fortune Insight的Podcast︰
https://prime.fortuneinsight.com/web/posts/483625…
希望大家多多支持。
---
三大因素異變 戰後體系瀕崩塌 @EJ Global Plus (9 May 2020)
雖說2020年僅過了不足一半,但相信不少港人均希望這一年沒有開始,畢竟自去年12月起,國際社會飽受新冠肺炎打擊,百業蕭條,人與人之間的關係也因「社交距離」政策有所改變。從國際關係研究而言,前法國駐敍利亞大使Michel Duclos、前美國國務卿基辛格分別撰文,指新冠肺炎將會改變舊日的世界體系──儘管有另一些學者如Joseph Nye認為,國際關係的基本地緣政治因素依舊,疫症也沒有改變國家地貌及基本地理因素,自然沒有改變地緣政治的基本盤。
周五為二戰歐戰結束75年,這四分三世紀有不少事件衝擊戰後重建的系統──例如上世紀七十年代的石油危機、九十年代的巴爾幹半島戰爭及亞洲金融風暴、2000年代的民主回潮及金融海嘯,但廣義而言國際社會對「自由世界體系」仍有一定信心,相信這些衝擊可透過體制內自我修繕機制處理。但筆者認為,這次可能真的回不去了。
2018年美國智庫蘭德公司(RAND Corporations)發表了有關戰後體系(Post-War Order)的研究報告,定義戰後體系包括以下特質:自由化的貿易體系帶來長達70年的經濟發展、全球民主政體的增長及普世價值出現、以外交手段及國際平台解決國與國的糾紛並建立共同安全體系。然而,這3個構成「自由世界體系」的元素,背後卻由3大政治信念所推動:多元政體(Polyarchy)、市場經濟(Market Economy)及和平演變(Peaceful Transition),而這3個信念卻因資訊科技的革新、經濟生產「安全化」及威權政體進化,早已變得脆弱。新冠肺炎的出現,不過是將問題以疫症的方式呈現,成為自由世界體系失效的明證。
自由世界體系的基礎,源於國際社會對民主體制的追求,以及對普世價值的堅持。因此,即使世界如何改變,自由主義仍是國際社會共識,民主體制仍是國家體制最大公約數。然而,這套民主體制並非一人一票票值均等,而是精英與民眾間的政治默契。政治學者Robert Dahl提出,現代民主體制其實並非「多數人統治」,而是「多重」的「少數人統治」:不同界別及利益的民眾將權力賦予可代表他們界別及利益的少數精英,而精英與精英之間會透過協商、共識、競爭等政治行為,回應自身界別及利益的民眾,同時吸納其他界別及利益的民眾支持,從而獲得政治權力管治國家。
真假資訊湧現 破壞社會互信
在這種多元政體下,精英與民眾之間建立一定程度互信,精英透過資訊及權力「壟斷」保證了政體的穩定,從而保障民眾政治及經濟生活;民眾透過公開與有競爭的政治參與、保障他們政治選擇及經濟自由,也賦權政治精英管理及分配社會資源。然而,資訊科技革新,除了降低民眾獲得資訊的成本,更大幅降低資訊生產的成本。資訊的成本結構有所改變,正面來看是令精英難以壟斷資訊,進一步迫使他們對民眾開誠布公,加強民眾的參與及監察,對民主體制而言本是好事。但資訊生產的成本大幅下降,市場上真假「資訊」充斥,反而令判別資訊真偽及價值的成本大增,不利社會之間互信。
以新冠肺炎疫情為例,歐盟早前發表有關錯誤資訊的研究就直接指出,在社交媒體有大量不當甚至虛假資訊散播,直接影響民眾判斷疫情的嚴重性,更指有部分假資訊是故意發布,希望影響民眾對政府政策的支持,從而打擊政府民望。當精英與民眾出現不能逆轉的信任鴻溝,再加上社交媒體背後演算化資料管理,「多元政體」的基礎──精英與民眾之間政治默契自會變得脆弱,「自由世界體系」也就崩裂一角。
「自由世界體系」的另一元素,在於全球化與市場經濟,成為決定經濟生活及經濟合作第一原則。因此,國際合作以推動自由貿易為主,西方社會在資本主義的邏輯下投資亞洲、非洲及拉丁美洲等國,享受「全球分工」及「跨國產業鏈」的經濟紅利,而發展中國家成為西方國家的製造工廠,同時因着西方的投資獲得新技術及資金發展自身產業及經濟。這種支持資本主義、提倡互惠互利的南北合作學說,一直主導着過去30年經濟發展。
意識形態埋堆 板塊化成趨勢
然而,「全球分工」及「跨國產業鏈」的背後,較少人注意的是一旦產業鏈因天災及人為斷裂,對本國經濟生產甚至國家安全造成打擊──而這正是新冠肺炎疫情對歐美社會的一大啟示。由於過去30年「全球分工」,令歐美國家將不少生產醫療物資的工廠轉移到中國及其他發展中國家,因此當原材料因為需求水漲船高、生產工場遠在外地、物流鏈因為全球封關大受影響,先進的歐美國家竟出現醫療物資短缺情況。這正警告了歐美國家領袖,「全球分工」及「跨國產業鏈」所帶來的國家安全危機。
除了將口罩、保護衣、呼吸機等醫療物資成為國家戰略物資外,跨國產業鏈布置及產能管理今後也會成為「國家安全」一部分。當以前單純的商業決定,今後多了一重「國家安全」思考,原來的「全球一體化」將會更為「區域化」及「板塊化」:意識形態相近的國家會自組一個板塊及區域經濟整合,確保產業鏈穩定的同時可保障國家安全。
事實上,日本及印度提倡的「印太自由走廊」本有這樣的雛形,而今後只會有更多結合政治、安全、經濟的區域整合出現,原來的「自由世界體系」也就出現根本變化。
但為何「區域化」及「板塊化」會成為自由世界體系的終局,箇中原因是西方社會了解到,冷戰結束背後「和平演變」理論已成過去,單以經濟合作以達到社會及政治改革、將威權國家拉向自由世界的外交政策,變得不合時宜。不少威權國家透過自由世界體系累積政治及經濟紅利,反過來有能力影響西方社會,年前提到的「銳實力」就是這種思考方向的有力觀察。與此同時,西方社會內部對自由世界體系的不信任,也令西方外交層面無力維持舊日那個理想國,反而要更用心處理國內矛盾,以免走向下一波「威權回潮」。
結果,全面的「全球化」被視為不再帶來經濟紅利,反而帶來一波又一波的政治及安全危機。當建立戰後體系的西方社會,不再相信自身建立的制度,「自由世界體系」的崩塌只是時間問題。世局丕變,本是服務於「自由世界體系」的香港,面對「自由世界體系」的崩潰,是心存僥幸希望這次也可逢凶化吉,還是勵求變革以圖浴火重生,繫於一念。
post capitalism 在 The end of capitalism has begun | Economics | The Guardian 的相關結果
Postcapitalism is possible because of three major changes information technology has brought about in the past 25 years. ... <看更多>
post capitalism 在 POST CAPITALISM: Mason, Paul: 9781846147388 - Amazon ... 的相關結果
POST CAPITALISM [Mason, Paul] on Amazon.com. *FREE* shipping on qualifying offers. POST CAPITALISM. ... <看更多>
post capitalism 在 PostCapitalism - Wikipedia 的相關結果
For the concept in economic thought, see Post-capitalism. ... PostCapitalism: A Guide to Our Future is a 2015 book by British journalist and writer Paul Mason. In ... ... <看更多>