鼠尾草(Salvia officinalis)一種除了使用於我們熟悉的廚房料理的藥草以外,還有保健以及其它更廣泛的用途的藥草。
鼠尾草是常綠多年生亞灌木,葉子灰色帶有絨毛狀,可增添食物麝香的風味,在仲夏開出紫色/藍色花朵。
不管鼠尾草使用的頻率是否高,在我的菜園中香草類一定保持一株鼠尾草。
不為什麼,就是覺得有了它才代表齊全。
鼠尾草可以直接買小苗或是用種子播種,也可以從現有的鼠尾草接觸地面紮根的植株,分株移植。
鼠尾草葉 可應用於料理中的魚類、家禽和肉類…麵食等調味料。
可新鮮和乾燥使用,也可泡茶。
鼠尾草要收藏過冬,可將整片葉子乾燥,依然可以保存非常濃郁的氣味。
香草類乾燥採低溫50度C。
乾燥時間依照實際葉子含水量,約8-10小時。
為了有利於保存要確實乾燥,成品用手輕捏立即粉碎,即完成。
鼠尾草的功效;
治療消化問題;
例如:食慾不振、胃脹氣、腹痛、腹瀉(Diarrhea)、腹脹及胃灼熱。
減少過多汗液與唾液。
治療憂鬱症(Depression)。
治療記憶喪失。
治療阿茲海默症。
治療氣喘(Asthma)。………….
可連結🔗健康草藥說;
https://helloyishi.com.tw/herbal-alternatives/herbals/sage/?amp=1
認識鼠尾草 維基
https://zh.wikipedia.org/wiki/%E8%97%A5%E7%94%A8%E9%BC%A0%E5%B0%BE%E8%8D%89
#鼠尾草品種觀賞與藥用有1000種
#鼠尾草是更年期女性的好朋友
同時也有13部Youtube影片,追蹤數超過7,420的網紅まとめまとめの,也在其Youtube影片中提到,【まとめのまとめ】 チャンネル登録はこちら https://goo.gl/QN6ioA 東京のことは日本人なら 当たり前に知ってる! と思ってる人がウザい 東京と言ったら正直、 秋葉原と上野くらいしか よく知らない それもパソコンの自作するから、 親戚の家に寄るため東京 行くときに店巡りす...
「sage wiki」的推薦目錄:
sage wiki 在 Facebook 的精選貼文
英國前衛搖滾樂團愛默生、雷克與帕瑪(Emerson, Lake & Palmer)另類受到「展覽會之畫」引發靈感的搖滾版現場音樂會。
Emerson, Lake & Palmer是英國的前衛搖滾樂團,由凱斯.愛默生 (鍵盤手)、葛瑞格‧雷克 (吉他手、貝斯手、主唱)以及凱爾‧帕瑪 (鼓手)。 在七零年代,樂團曾非常受歡迎,賣出了超過三千五百萬張的專輯並舉辦了幾場盛大的演唱會。
在1969年的兩次演唱會,The Nice(凱斯·愛默生擔任鍵盤手的樂團)和深紅之王(葛瑞格·雷克擔任貝斯手和主唱的樂團)共用了同一個場地,第一次是1969年的八月十日和第二次在1969年的十月十七日。在這兩次在同一場演唱會的表演後,愛默生和雷克試著一起演奏,並發現他們的風格搭配起來不僅相當融洽更可謂互補,因此他們想成立一個鍵盤、貝司、鼓合奏的樂團,並開始尋找鼓手。
在確定凱爾·帕瑪(當時還是Atomic Rooster的成員)加入前,他們曾考慮過The Jimi Hendrix Experience的成員米切·米切爾,不過米切爾沒什麼興趣,但他把這件事告訴了吉米·罕醉克斯。罕醉克斯表示他挺有興趣的,他一直試著想讓他的樂團有些改變。在愛默生和雷克確定讓帕瑪加入後,很多人就猜測會有一個名叫HELP(Hendrix, Emerson, Lake & Palmer)的天團誕生。但因為一些日程的衝突,這項計畫並沒有立即實現,他們計畫在罕醉克斯的第二場在懷特島音樂節的演出後和他即興演奏,但罕醉克斯卻在那時死了。 雷克曾在愛默生、雷克與帕瑪的介紹中提到:
"是啊,這故事是真的,在某種程度上...米切爾已經告訴了吉米關於我們的事而且他也說他想考慮看看這個主意。甚至在我們已經決定與卡爾搭檔後,和吉米搭擋的計畫卻沒停止。我們希望能在七零年的八月或九月和他做即興演出,但他在我們能合作前死了"
因此,他們也就成為了愛默生、雷克與帕瑪。
六十年代中期有個古典搖滾樂團The Nice,當中的主腦Keith Emerson從小即著迷於兼具浪漫樂派與國民樂派風格的柴可夫斯基(Tchaikovsy)與西貝流士(Sibelius),畢生也希望以鋼琴技巧高超有如莫札特第二為職志。在The Nice的第二張專輯Ars Longa Vita Brevis(1968)中,他嘗試重新翻奏伯恩斯坦(Leonard Bernstein)所創作音樂劇西城故事(West Side Story)中耳熟能詳的插曲America而備受矚目(據說伯恩斯坦當時對這主意可不表贊同),同年在倫敦Royal Albert Hall的演出也很成功,提出原始構想的Keith Emerson自此成為鎂光燈下的焦點。1969年,以擔任前衛搖滾先驅King Crimson主唱並以In the Court of the Crimson King(1969)專輯揚名立萬的主音歌手Greg Lake與The Nice的Emerson在英國Croydon的爵士與藍調音樂季中結識。雙方當時英雄惜英雄,決定在音樂會結束後各自離開其原來樂團並t組新團以別苗頭。
商業上的成功並沒使他們被名利沖昏了頭,同年在Tarkus發行不久之後,ELP再接再厲把當年三月在New Castle City Hall的實況演出發行。但並不是一張全新內容的專輯,而是把俄國五人團中的穆索斯基(Mussorgsky)為記念其好友所創作的組曲"展覽會之畫"Pictures At An Exhibition(1971)重新照ELP的方法演繹。
ELP針對原曲並依照樂團意念加以改編,保留了原作中奇幻的部分少數再加入歌詞以Lake演唱,此樂曲本來由十首與畫作相關連的鋼琴獨奏及具有間奏功能的{Promenade}(漫步)組所成。以筆者手邊的原始鋼琴版本作比較,除{The sage}、{Blues variation}是後來被樂團加上以輔助氣氛的作品,ELP保留了原畫作中{The gnome}(侏儒)、(The old castle)(古堡)、{The hut of baba yaga}(女巫的小屋)、{The great gates of kiev}(基輔城門)等四幅,分別代表著"活潑生動的"、"雅致與神秘"、"粗獷而具戲劇性"、"威風凜凜與光輝燦爛"。除{The hut of baba yaga}部分從原組曲倒數第二被移到第三幅,其餘大致同於原作觀畫時間的順序,全套組曲不算安可總共三十五分鐘。
那ELP的詮釋到底如何呢? 除了將原作品成另類表達方式,尤其是聲樂與鼓、貝斯、吉它、合成樂器等搭配的結果是很新鮮的。但純就感覺來說倒也不是那麽成功,首先是樂曲進行中的漫步因為人聲出現而心神被打斷,中途安插的兩首曲子對於氣氛營造的意圖也略顯畫蛇添足,現場演出時聽眾的鼓譟聲多少也破壞了它有時應具有的聲音表情。其餘各項音畫裡器樂的配置適當與否則見仁見智了,我自己對它是特別驚艷於開頭跟結尾的兩部分。起始的{Promenade}(漫步)帶有詭異意味的動機,樂團把漫步的感覺帶到一種沉重的速度,接應到侏儒篇活潑生動的四分之三拍子中。{The great gates of kiev}(基輔城門)應該是專輯中的最高潮,從一開始的肅穆的主題到尾奏都是以強而有力的演奏形態,結尾聽到Emerson與樂團競飆華麗的快速音群十分過癮。安可曲則是開了Emerson的精神導師柴可夫斯基一點玩笑,把胡桃鉗組曲(Nutcracker)的其中一首改編為"Nutrocker"。算是送給所有共同經歷過這場音樂之旅樂迷的一點釋放壓力的小禮物。
部分文字來源:
https://www.itsfun.com.tw/Emerson+Lake+%26amp%3B+Palmer/wiki-4063033-2154313
sage wiki 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳貼文
อีกครั้ง
“เผด็จการ (Dictator) : เผด็จการอำนาจนิยมในสังคมไทย”
ผมได้ค้นคว้าเกี่ยวกับ คำว่า “เผด็จการ” เจอบทความหนึ่งทึ่ เขียนโดย อรรถสิทธิ์ เมืองอินทร์ ( Published on Fri, 2014-10-03 17:15) บทความนี้มีข้อมูลที่น่าสนใจมาก อธิบายเกี่ยวกับข้องกับคำว่า “เผด็จการ” และผมได้ค้นคว้าวิเคราะห์ถึงระบอบเผด็จการอำนาจนิยมในสังคมไทยในปัจจุบันภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา คงไม่ชอบคำว่า “เผด็จการ” ซึ่งถือได้ว่าเป็นคำไม่ค่อยสุภาพในศตวรรษที่ 21 เช่นเดียวกับคำว่า"ปฏิวัติ" หรือ "รัฐประหาร" เป็นแน่ นายกรัฐมนตรีคนที่ 29 น่าจะพอใจกับคำเรียกอื่นแทนอัตลักษณ์ของตัวท่านอย่างเช่น "นักปกครองผู้เด็ดขาด" หรือ "ผู้รับใช้บ้านเมืองที่ร้องขอ (บังคับ)ให้ประชาชนยอมสละเสรีภาพเพื่อให้บ้านเมืองเข้าสู่ภาวะปกติ (ซึ่งจะมีเมื่อไรก็ไม่ทราบ) " หรืออะไรก็ได้ที่ไม่มีคำว่า “เผด็จการ” เจือปนอยู่เป็นอันขาด ดังจะดูได้จากพฤติกรรมหนึ่งที่ท่านทำในสิ่งที่เผด็จการไม่ค่อยทำได้แก่ การกล่าวคำโทษและการไหว้นักข่าว
ต่อไปนี้เป็นศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับคำว่า “เผด็จการ” หรือคนๆ เดียวที่มี “อำนาจสูงสุด” ไร้การถ่วงดุล การโต้แย้งหรือการตรวจสอบและมักมีการปกครองที่เลวร้ายโหดเหี้ยม คำเหล่านั้นแม้มีลักษณะที่แตกต่างกันออกไปแต่ก็ความหมายก็มีความใกล้เคียงหรือทับซ้อนกัน บทความนี้ยังต้องการเชิญชวนให้ผู้อ่านตัดสินว่าพลเอกประยุทธ์นั้นเหมาะสมหรือเข้าข่ายคำไหนที่สุดมากที่สุด (หากมองว่าการไหว้หรือการขอโทษเป็นการแสดงทางการเมืองอย่างหนึ่ง)
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเผด็จการ” อรรถสิทธิ์ เมืองอินทร์ ( Published on Fri, 2014-10-03 17:15) ได้เขียนอธิบายไว้ ดังนี้
1.Dictator
Dictator เป็นคำภาษาอังกฤษของ “เผด็จการ” ที่ได้รับคำนิยมมากที่สุด มาจากคำกิริยาที่ว่า dictate มีความหมาย คือ บีบบังคับหรือกดดันให้คนอื่นกระทำตามที่ตัวเองต้องการ คำว่า dictator ในสมัยยุคสาธารณรัฐโรมันกลับเป็นคำที่ยกย่อง บุคคลที่ได้ชื่อว่าเป็น dictator คือคนที่นักปกครองสูงสุดหรือกงศุลได้เลือกให้มีอำนาจโดยเด็ดขาดผ่านการรับรองของสภาแต่เพียงชั่วคราวเพื่อนำพาอาณาจักรให้รอดพ้นจากภัยอันใหญ่หลวงเช่นสงครามและมักจะมีวาระการดำรงตำแหน่งที่แน่นอน แต่ในยุคใหม่ dictator เป็นคำที่ไม่สู้ดีนักอันมีสาเหตุมาจากผู้นำเผด็จการในลัทธิฟาสซิสต์ของเยอรมัน อิตาลีและญี่ปุ่นที่ทำให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2
นอกจากนี้คำว่า Dictator มักถูกโยงเข้ากับทหาร เพราะตั้งแต่ศตวรรษที่ 20 ประเทศในโลกที่ 3 จำนวนมาก ทหารได้ทำรัฐประหารและเข้ามาเป็นผู้ปกครองเสียเองดังคำศัพท์ว่า Military dictatorship หรือรัฐบาลเผด็จการทหาร (หากเราเติมคำว่า ship ต่อท้ายก็จะหมายถึงการปกครองแบบเผด็จการ) สำหรับในด้านวัฒนธรรมได้แก่ภาพยนตร์ของชาร์ลี แชปลินที่สร้างขึ้นมาล้อเลียนฮิตเลอร์ในปี 1940 เรื่อง The Great Dictator หรือภาพยนตร์เรื่อง Banana ของวูดดี อัลเลนที่ล้อเลียนเผด็จการในอเมริกาใต้ในปี 1971 ซึ่งสะท้อนว่ามุมมองของชาติตะวันตกต่อเผด็จการเหล่านั้นในด้านลบ
อนึ่งรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตยก็เป็นเผด็จการได้ดังเช่น Elective Dictatorship หรือ Parliamentary Dictatorship อันหมายถึง รัฐบาลที่มีเสียงข้างมากในสภาจนสามารถผูกขาดการออกกฏหมายหรือทำการใดๆ ก็ได้ตามอำเภอใจของหัวหน้ารัฐบาล คำนี้เป็นสมญานามที่กลุ่มเสื้อเหลืองหรือกปปส.ใช้ในการโจมตีทักษิณอย่างต่อเนื่อง ซึ่งก็น่าดีใจว่าเมืองไทยในปัจจุบันไม่มีเผด็จการเช่นนี้อีกต่อไป เพราะมี Military dictatorship แทน
ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม ผู้เขียนคิดว่าศัพท์อีกคำที่ ฯพณฯ อดีตผู้บัญชาการทหารบกน่าจะยิ้มได้หากฝรั่งเรียกท่านว่า Benevolent dictator (เผด็จการใจดี) หรือผู้ใช้อำนาจเด็ดขาด (อย่าใช้คำว่าเผด็จการนะ) ที่เปี่ยมด้วยความเมตตาหรือความปรารถนาในการสร้างประโยชน์ให้กับประเทศชาติ อย่างเช่น ลี กวนยิวหรือ โจเซฟ ติโต แต่จะให้ดีต้องถามประชาชนผ่านการทำโพลที่ได้มาตรฐานและโปร่งใสกว่าปัจจุบันนี้สักร้อยเท่าว่าท่านสมควรจะได้สมญานี้หรือไม่
2.Tyrant
Tyrant หมายถึง “ทรราช” เรามักใช้คำนี้กับผู้ปกครองในอดีตเช่นจักรพรรดิหรือกษัตริย์ที่มีพฤติกรรมโหดร้ายมากกว่าเผด็จการแม้ว่าจะมีพฤติกรรมคล้ายคลึงกัน (สำหรับการปกครองหรือรัฐบาลเช่นนี้ เราจะใช้คำว่า tyranny) กระนั้นก็มีคนหันมาใช้กับเผด็จการในยุคใหม่อยู่บ่อยครั้งดังเช่นเรียกจอมพลถนอม กิติขจร จอมพลประพาส จารุสเถียรและพันเอกณรงค์ กิติขจรในยุคเรืองอำนาจ ว่าสามทรราช หรือตอนที่พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร มีอำนาจ ก็มีผู้ใช้คำนี้เพื่อโจมตีเขาในเชิงขบขันดังเช่น “ทรราชหน้าเหลี่ยม” ทั้งที่มองความจริงแล้วทักษิณทำได้ก็เพียงผลักดันให้ประเทศกลับไปสู่การเป็น “ประชาธิปไตยเทียม” เพราะอำนาจของเขามีอยู่อย่างจำกัดมากจากการถ่วงดุลโดยฝ่ายอำมาตย์หรือกลุ่มผลประโยชน์เก่า
สำหรับการปกครองเช่นนี้นักปรัชญาอาริสโตเติลถือว่าเป็นรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดซึ่งอยู่ขั้วตรงกันข้ามกับ Kingship หรือราชานักปราชญ์ผู้ปกครองที่เน้นประโยชน์แก่ปวงชน
3. Despot
Despot หมายถึง ทรราชเช่นกัน ซึ่งถูกใช้ในด้านดีหากผู้ปกครองสูงสุดผู้นั้นอิงแอบการปกครองของตนที่เน้นหลักการมากกว่าเรื่องของอารมณ์หรือผลประโยชน์ส่วนตน อย่างเช่น Enlightened Despotism อันมีคำแปลภาษาไทยคือ “สมบูรณาญาสิทธิราชย์” อันทรงภูมิธรรมหรือกษัตริย์ผู้มีอำนาจเด็ดขาดแต่ใช้อำนาจในการปฏิรูปหรือสร้างประโยชน์ให้กับประเทศในด้านต่างๆ อย่างมากมายโดยตั้งอยู่บนปรัชญาในยุคแสงสว่าง (Enlightenment Age) ดังเช่นพระเจ้า ฟริดริกที่ 2 แห่งแคว้นปรัสเซีย และพระนางแคทอรินที่ 2 แห่งรัสเซีย
4.Absolutism
Absolutism หมายถึง การปกครองแบบสมบูรณญาสิทธิราช (Absolute Monarchy) หรือกษัตริย์ทรงเป็นเผด็จการและมีอำนาจเหนือรัฐอย่างสมบูรณ์ เปี่ยมด้วยความศรัทธาและความภักดีจากประชาชน อันแตกต่างจากระบอบกษัตริย์นิยมทั่วไปในยุคของศักดินาที่พระราชอำนาจยังถูกคานโดยเชื้อพระวงศ์หรือขุนนาง ส่วนประชาชนก็ยังภักดีต่อเจ้าขุนมูลนายอยู่มาก
อนึ่งกษัตริย์ที่มีลักษณะเป็นสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมก็ถูกเรียกว่า Enlightened Absolutism
5.Authoritarianism
Authoritarianism มีคำแปลที่ชัดเจน คือ "เผด็จการอำนาจนิยม" หมายถึง การปกครองที่ผู้ปกครองมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
1.จำกัดความหลากหลายทางการเมืองเช่นจำกัดบทบาทของสถาบันและกลุ่มทางการเมือง เช่นสมาชิกรัฐสภา พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ
2.พื้นฐานในการสร้างความชอบธรรมตั้งอยู่บนเรื่องอารมณ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างภาพของการปกครองของตนว่าเป็นความชั่วร้ายที่จำเป็นในการต่อสู้ปัญหาทางสังคมที่สำคัญเช่นความด้อยพัฒนาหรือผู้ก่อความไม่สงบ
3.ไม่ยอมให้มวลชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการเมืองนอกจากการปฏิบัติตามและยังจำกัดบทบาทของมวลชนโดยใช้วิธีกดขี่ผู้มีความเห็นตรงกันข้ามกับรัฐบาลและการสั่งห้ามไม่ให้มีกิจกรรมที่ต่อต้านรัฐบาล
4.อำนาจของฝ่ายบริหารมีความคลุมเครือสามารถเปลี่ยนแปลงได้เรื่อยๆ (ดังเช่นกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 17 ยุคจอมพลสฤษดิ์และมาตรา 44 ในยุคปัจจุบัน)
6.Creeping Authoritarianism
Creeeping Authoritarainsm
แปลเป็นภาษาไทยของผู้เขียน (อรรถสิทธิ์ เมืองอินทร์ ) เอง คือ “เผด็จการแบบคืบคลาน” หมายถึง นักปกครองที่มาจากวิถีทางแบบประชาธิปไตยเช่นเป็นนายกรัฐมนตรีหรือประธานาธิบดีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน แต่ก็ได้ใช้อำนาจและความนิยมของประชาชนในการค่อยๆ บั่นทอนสถาบันและกลไกทางการเมืองแบบประชาธิปไตยให้ตัวเองสามารถมีอำนาจและมีวาระการดำรงตำแหน่งอย่างยาวนานตัวอย่างเช่นประธานาธิบดีปูตินของรัสเซีย ประธานาธิบดีเรเซ็ป ทายยิป แอร์โดกันแห่งตุรกีซึ่งเคยผูกขาดการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีมากกว่าทศวรรษ
7.Totalitarianism
Totaltarianism คำนี้มีคำแปลที่ชัดเจนคือ "เผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ" ซึ่งเป็นรูปแบบการปกครองที่เผด็จการยิ่งกว่าเผด็จการอำนาจนิยม เพราะเผด็จการอำนาจนิยมนั้นอาจจะผูกขาดเฉพาะเรื่องสำคัญๆ ในการบริหารรัฐกิจแต่ก็เปิดอิสระหรือพื้นที่สำหรับประชาชนอยู่บ้าง ในขณะเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จนั้นมุ่งเน้นในการเข้าไปควบคุมวีถีชีวิตของประชาชนในทุกด้านไม่ว่าด้านร่างกายการแต่งตัว รสนิยมหรือแม้แต่เรื่องความคิด ดังเช่นยุคของสตาลิน เหมาในช่วงปฏิวัติวัฒนธรรมและเกาหลีเหนือในยุคปัจจุบัน อนึ่งเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จอาจจะไม่ได้มีผู้มีอำนาจผูกขาดแต่เพียงผู้เดียวคือเป็นหมู่คณะ (Collective leadership) ดังเช่นพรรคคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียตยุคหลัง สตาลินหรือกลุ่มเขมรแดงเมื่อทศวรรษที่ 70
เป็นที่น่าสนใจว่าเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จนั้นมักเริ่มต้นมาจากเผด็จการอำนาจนิยมเสียก่อนและจึงค่อยคืบคลานเพิ่มความเข้มข้นไปเรื่อย โดยอาศัยกลยุทธ์เช่น
Cult of personality หมายถึงลัทธิบูชาบุคคลหรือให้ประชาชนจงรักภักดีต่อผู้นำคนใดคนหนึ่งอย่างสุดจิตสุดใจผ่านการโฆษณาชวนเชื่อซ้ำไปซ้ำมา
Indoctrination หมายถึงการปลูกฝังลัทธิหรืออุดมการณ์ให้ประชาชนยึดมั่นหรือปฏิบัติตาม ชนิดที่ไม่ว่าสามารถต่อต้านหรือแม้แต่ตั้งคำถามได้ อุดมการณ์นี้มักถูกผูกเข้ากับตัวบุคคลในข้อแรก
Mass mobilization หมายถึงการระดมมวลชนเพื่อให้หันมาสนับสนุนหรือเทิดทูน อุดมการณ์ชุดหนึ่งๆ และยังหันมาจับตามองกันเองเพื่อค้นหาคนที่ไม่เชื่อฟังต่อรัฐ
Repressive law หมายถึงกฎหมายที่เข้มงวด มุ่งกดขี่ประชาชน ปราศจากความยุติธรรม
Judicial corruption หมายถึงสถาบันทางกฎหมายที่ตราชั่งเอียงไปเอียงมา ปราศจากการพิจารณาคดีที่ยุติธรรมและอิสระเพราะถูกควบคุมโดยฝ่ายบริหาร
Secret police หมายถึงตำรวจลับซึ่งแทรกตัวเข้าไปในทุกอณูของสังคม ในเยอรมันตะวันออก หน่วยตำรวจสตาซีได้บีบบังคับให้ประชาชนมีการสอดแนมและแอบล้วงความลับกันเองแม้ว่าจะมีความสัมพันธ์หรือสนิทแนบแน่นกันอย่างไรก็ตามก่อนจะรายงานให้ทางการทราบ
Secret prison หมายถึงคุกลับที่เน้นการทำให้นักโทษตายทั้งเป็นมากกว่าเป็นการสั่งสอนให้เกิดสำนึกด้วยวัตถุประสงค์คือทำให้ประชาชนซึ่งรู้คำเล่าลือไม่กล้าเป็นปรปักษ์ต่อรัฐ
Strict censorship หมายถึงการเซนเซอร์หรือการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในการแสดงออกอย่างเข้มงวดแม้แต่ด้านศิลปะ การแสดงออกเรื่องทางเพศ
Fear-inspiring หมายถึงการปลุกปั่นให้มวลชนเกิดความกลัวเช่นใช้กฎหมายแบบเข้มงวดจนเกิดจริงและไม่ตั้งอยู่บนเหตุผลแม้แต่น้อย จนประชาชนเกิด Self-censorship หรือการงดการแสดงออกทางการเมืองเพื่อไม่ให้มีปัญหากับรัฐ
8.Autocracy
Autocracy เป็นคำแปลของเผด็จการแบบรวมๆ คือ สามารถใช้แทนเกือบทุกคำข้างบนสำหรับผู้มีอำนาจปกครองแบบเด็ดขาด กระนั้นเองก็มีผู้สร้างคำว่า Liberal autocracy หรือการปกครองแบบเผด็จการแต่เน้นหลักการณ์แบบเสรีนิยมดังเช่นการที่อังกฤษปฏิบัติต่อเกาะฮ่องกงในช่วงเป็นอาณานิคม คือชาวฮ่องกงไม่สามารถเลือกผู้ว่าการเกาะเองได้ แต่อังกฤษก็ได้ปลูกฝังให้คนฮ่องกงมีความศรัทธาต่อระบอบประชาธิปไตยและระบบนิติรัฐ อันเป็นสาเหตุให้ฮ่องกงไม่ค่อยมีความสงบทางการเมืองเลย ภายหลังจากที่อังกฤษส่งมอบเกาะให้กับจีนเมื่อปี 1997 เพราะคนฮ่องกงนั้นขาดความศรัทธาต่อพรรคคอมมิวนิสต์จีนเมื่อนำไปเทียบกับรัฐบาลอังกฤษ
ระบอบเผด็จการอำนาจนิยมภายใต้บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ 2560
สำหรับประเทศไทย หากพิจารณาจากสื่อมวลชนที่เอียงข้างเข้าฝ่ายทหารจะพบว่ามีการเขียนสรรเสริญยกย่องรัฐบาลว่ามีลักษณะการปกครองแบบนี้เช่นเดียวกับ Benevolent dictatorship (เผด็จการใจดี) อำนาจนิยม เป็นระบอบการเมืองที่มีฐานอยู่บนอุดมการณ์ทางการเมืองแบบเผด็จการชนิดที่ผู้ปกครองสามารถใช้อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเหนือรัฐ หรือกลุ่มคนใดๆ ในการธำรงไว้ซึ่งเป้าหมายสูงสุด คือ การรักษาอำนาจของตน (ภายใต้มาตรา 44 รัฐธรรมนูญ 2557 และได้รับรองในมาตรา 265 รัฐธรรมนูญ 2569 ฉบับปัจจุบัน)โดยมักจะไม่คำนึงถึงสิทธิ เสรีภาพของประชาชน ปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นที่เป็นปฏิปักษ์กับผู้นำ ควบคุมสื่อมวลชน ผูกขาดการใช้อำนาจและจำกัดการตรวจสอบ
กล่าวได้ว่า ระบอบอำนาจนิยมเป็นระบอบการเมืองที่ใช้แพร่หลายมากที่สุดเป็นระยะเวลายาวนานที่สุด ในประวัติศาสตร์การปกครองของมนุษยชาติ ทุกวันนี้ “อำนาจนิยม” เป็นคำที่ถูกใช้ถึงบ่อยครั้งที่สุด เมื่อกล่าวถึงระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย ลักษณะสำคัญของระบอบอำนาจนิยม คือ การกระทำและการตัดสินใจของผู้ปกครองไม่ถูกจำกัดโดยสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของประชาชน ในขณะที่สิทธิ เสรีภาพของประชาชนมีอยู่อย่างจำกัด กล่าวอีกนัยหนึ่ง สิทธิทางการเมืองของประชาชน หากมีอยู่บ้าง ก็จำกัดเต็มที ด้วยเหตุที่ผู้ปกครองอำนาจนิยมจะสร้างกฎระเบียบ มาตรการที่เข้มงวด เพื่อจำกัดกิจกรรมของบุคคลและกลุ่มบุคคลที่ต้องการมีส่วนร่วมในการจัดสรรสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม ในระบอบอำนาจนิยม ประชาชนส่วนใหญ่ในสังคมมักไม่ได้รับอนุญาตให้แสดงออกทางการเมืองใดๆ ยกเว้น กิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากอำนาจรัฐ ฉะนั้น การต่อสู้ทางการเมืองในรูปแบบการชุมนุมประท้วงและเดินขบวนตามจังหวะและโอกาส จึงแทบจะเป็นรูปแบบการมีส่วนร่วมชนิดเดียวที่ทำได้ ในขณะที่เสรีภาพของสื่อมวลชนและประชาชนที่จะวิพากษ์วิจารณ์และตั้งคำถามต่อระบบการเมืองจะถูกตรวจสอบ หากฝ่าฝืนจะมีมาตรการลงโทษ
ดังนั้นอำนาจนิยมของประเทศไทยมีลักษณะของอำนาจที่เข้มข้นและรวมเข้าสู่ศูนย์กลางอย่างมาก ซึ่งรักษาไว้โดยการปราบปรามทางการเมืองและการกีดกันคู่แข่งที่เป็นไปได้ รัฐบาลอำนาจนิยมใช้พรรคการเมืองและองค์การมวลชนเพื่อระดมคนมารอเป้าหมายของรัฐบาล
แต่อย่างไรก็ตาม ในระบอบอำนาจนิยม (ใกล้เคียงกับระบอบคอมมิวนิสต์) ประชาชนสามารถดำเนินชีวิตประจำวันในส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับมิติทางการเมืองได้อย่างปกติ สามารถเลือกประกอบอาชีพ นับถือศาสนา และสังสรรค์หาความสุขได้โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมโดยตรงจากรัฐบาล แต่กระนั้น ในบางประเทศสิทธิและเสรีภาพในการดำเนินชีวิตอาจถูกควบคุมโดยธรรมเนียมปฏิบัติ บรรทัดฐานหรือความเชื่อทางศาสนาที่เข้มงวด ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งหรือคนละส่วนกับอำนาจรัฐในระบบการเมืองก็ได้
ประสบการณ์ทางการเมืองของประเทศไทยหลังจากการเปบี่ยนแปลงการปกครอง 2475 เปลี่ยนจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประขาธิปไตยอันมีพระมกากษัตริย์ทรงเป็นมุข แต่กลับเปลี่ยนผ่านของการใช้อำนาจปกครองนำมาสู่คำเรียกขาน “ระบอบราชการอำนาจนิยม” (bureaucratic authoritarianism) ที่ใช้อธิบายระบอบประชาธิปไตย แต่เกิดหักเหจนในที่สุดปัจจุบันในประเทศไทย ถือได้ว่า “ระบอบประชาธิปไตย” ถูกแทนที่ด้วยแนวร่วมระหว่างคณะทหารกับพลเรือนที่ทำการรัฐประหารยึดกุมสถาบันการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง ชนชั้นนำที่ประกอบด้วย ทหาร ข้าราชการพลเรือน นักเทคนิคระดับสูง (technocrats) ตลอดจนนักธุรกิจชั้นนำดำเนินนโยบายที่เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม แต่ปิดกั้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบาย และการเข้ามาแข่งขันในตลาดการเมือง โดยคณะทหารและระบบราชการดังกล่าว แสดงบทบาททางการเมืองในฐานะที่เป็นสถาบัน ไม่ใช่ตัวบุคคล นักวิชาการลาตินอเมริกาวิเคราะห์ว่า ระบอบราชการอำนาจนิยม เป็นผลจากการพัฒนาอุตสาหกรรมทุนนิยมแบบพึ่งพา ประเทศที่จัดว่าใช้ระบอบราชการอำนาจนิยม ดังเช่น ที่เกิดขึ้นในประเทศบราซิล อาร์เจนตินา และ ชิลี เป็นต้น
ในยุคปัจจุบันที่ปรากฏในบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ 2560 ภายใต้ “อำนาจนิยม” วางหลักการกำหนดที่มาจากการเลือกตั้ง” (electoral authoritarianisms) หรือ “ระบอบอำนาจนิยมที่มีเปลือกนอกฉาบด้วยผู้นำที่มาจากการเลือกตั้ง” ซึ่งปรากฏให้เห็นในหลายประเทศ ที่ใช้ในระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน กระบวนการอันสำคัญและจำเป็นกระบวนการหนึ่งที่มิอาจขาดหายไปได้เลยก็คือ การเลือกตั้ง (election) เพราะเป็นกระบวนการที่จะทำให้ประชาชนเจ้าของอำนาจได้แสดงออกซึ่งเจตจำนงเสรีของแต่ละบุคคล ทว่าการเลือกตั้งก็อาจมิใช่ตัวบ่งชี้ถึงความเป็นประชาธิปไตยเสมอไป เพราะระบอบอำนาจนิยมในหลายประเทศได้อาศัยกระบวนการเลือกตั้งมาเป็นเครื่องมือในการสร้างความชอบธรรมในการปกครอง และการใช้อำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเพื่อประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง ด้วยการอ้างเสียงสนับสนุนข้างมาก ทำให้เกิดอำนาจนิยมแบบใหม่ที่เรียกว่า อำนาจนิยมที่มาจากการเลือกตั้ง (electoral authoritarianism) ทำให้เกิดข้อถกเถียงว่า การเลือกตั้งมิได้เท่ากับการมีประชาธิปไตยเสมอไป หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ การเลือกตั้งเป็นปัจจัยที่ “จำเป็น” แต่อาจไม่ “เพียงพอ” ที่จะแบ่งระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ออกจากระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย
เส้นแบ่งใหม่ที่เกิดขึ้นระหว่างการเลือกตั้งของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย และระบอบอำนาจนิยมที่แฝงเร้นอยู่ในคราบประชาธิปไตยตัวแทนจอมปลอม (authoritarianism disguised in the form of representative democracy) จึงอยู่ที่มิติด้านคุณภาพของการเลือกตั้งและประสิทธิภาพของกลไกตรวจสอบด้วย กล่าวคือ การเลือกตั้งจะต้องเป็นการเลือกตั้งที่เสรี เที่ยงธรรม และโปร่งใส (free, fair, and transparent election) ที่ปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอกอื่นๆ อาทิ การซื้อสิทธิ์ขายเสียง การแทรกแซงของคณะทหาร ไม่มีการครอบงำ หรือจำกัดคู่แข่งทางการเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง จึงจะนับได้ว่าเป็นการเลือกตั้งที่เพียงพอและจำเป็นที่จะนำไปสู่ระบอบเสรีประชาธิปไตยได้อย่างแท้จริง และเมื่อได้ชัยชนะและมีเสียงข้างมากแล้ว หากใช้กลไกเสียงข้างมากบ่อนทำลายกลไกตรวจสอบ ก็อาจนำไปสู่อำนาจนิยมซึ่งเกิดขึ้นภายใต้เสื้อคลุมประชาธิปไตย นอกจากนั้น ความแตกต่างระหว่างอำนาจนิยมและประชาธิปไตยที่สำคัญไม่แพ้การเลือกตั้ง คือ การมีหลักนิติธรรมที่ไม่เอนเอียง มีรัฐบาลที่ตรวจสอบได้ และมีกระบวนการยุติธรรมที่เป็นอิสระปราศจากการแทรกแซงหรืออคติ
อ้างอิง
https://prachatai.com/journal/2014/10
https://en.m.wikipedia.org/wiki/Authoritarianism
http://en.wikipedia.org/wiki/Liberal_autocracy
1. Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.
2. ↑ Linz, Juan (2000). Totalitarian and authoritarian. Boulder: Lynne Rienne.
3. ↑ Badie, Bertrand, Dirk Berg-Schlosser, and Leonardo Morlino (2011). International encyclopedia of political science. Thousand Oaks, Calif.: SAGE Publication
4. ↑ Linz, Juan (2000). Totalitarian and authoritarian. Boulder: Lynne Rienne.
5. ↑ ทักษ์ เฉลิมเตียรณ (2552). การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
6. ↑ Kesboonchoo-Mead, Kullada (2012). “The cold war and Thai democratization”. In Southea and the cold war. New York: Routledge
7. เกษียร เตชะพีระ (2547). “วัฒนธรรรมการเมืองอำนาจนิยมแบบเป็นปฏิปักษ์กับการปฏิรูปภายใต้ระบอบทักษิณ” ใน สมชาย หอมลออ (บ.ก.), อุ้มทนายสมชาย นีละไพจิตร: บทสะท้อนวัฒนธรรมอำนาจนิยมในสังคมไทย, กรุงเทพฯ : คณะทำงานปกป้องนักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน, หน้า 3-19
8. https//prachatai.com/journal/2014/10
9.
https://en.m.wikipedia.org/wiki/Authoritarianism
10.
http://en.wikipedia.org/wiki/Liberal_autocracy
sage wiki 在 まとめまとめの Youtube 的精選貼文
【まとめのまとめ】
チャンネル登録はこちら
https://goo.gl/QN6ioA
東京のことは日本人なら
当たり前に知ってる!
と思ってる人がウザい
東京と言ったら正直、
秋葉原と上野くらいしか
よく知らない
それもパソコンの自作するから、
親戚の家に寄るため東京
行くときに店巡りするから
詳しくなっただけで
あと東京はどこらへんに
何があるか全く知らない
いわゆる24区も具体的に
何か知らないし、
八王子とか渋谷とか言われても、
一切ピンとこない
東京大学もどこにあるのか知らない
TDLが東京に無いことは
流石に知ってる
なので東京の話になると
適当に相槌打ちながら
聞き流してるんだけど、
たまに出身地自慢が始まる
だけど東京は住んでる
ことが自慢になる地域と
恥ずかしい地域とあるらしく
適当に
「へーすごいですね!」
とか話を合わせてると
「皮肉ってバカにしてるのか!」
と怒る人もいる
面倒くさい
じゃあなんて言えばいいの
あなたは
「私、奈良の柳生
出身ですと言われて反応返せるの?
あ、そう、興味ない
んだけど、が本音でしょう
あと24区が東京のどの
変にあるのか把握し
てなくてバカにされるのも
イラっとする
こちとら生活圏は奈良、
京都、大阪なんじゃ
そこらへんドライブ
できるだけの地理が頭に
詰まっとったら私生活も
仕事も問題ない
なんで一々関西の人間が
東京の土地をそらで
言えんなならんのか
挙げ句の果に現在私は
京都に住んでるんだけど、
京都民は意地悪だから
嫌味で言ってるんでしょ、
みたいに言われると
どんだけ被害妄想強いねん、
と思う
お前の住んでる場所や
出身地が東京のカースト
制度でどの位置かなんて
知るかいなと会社に時々
くる東京支社の人間の中に
この手の話大好きな人がいて、
本当にイラッとする
あと現在きてる派遣が東京age、
京都sageも激しくて
イラッとする
やんわり注意したら
「京都特有の嫌味ですか?」だ
ならお前、こんなところで
派遣やってねーで東京帰れや
23区な
それと東京自慢する奴は
生粋の
東京っ子じゃないから腹を
立てても無駄
それ、逆手にとって顔を
会わせてる時間中ずっと
嫌味三昧にすればいいのに
自分のことを意地悪で
嫌味だと思ってる他人には、
お望み通り意地悪して嫌味
連発していい
たまにしか顔を合わさないなら、
別にそいつと一生
添い遂げる訳じゃないんだから、
いいと思うよ
「あらー、こうとな服着て
はりますねー、
このあと法事に行きはる
んですか?」
くらいでね
そいつの知らない街の話をして
「こんな話しても
江戸ッ子さんには分から
しまへんわねー。
こちらは都の歴史古
すぎますねんわー」
でいいと思う
>奈良の柳生出身です
「柳生新陰流使えますか?」とか
「死体で刀の試し斬りする
んですよね」
とか突っ込んでほしいのか?
23区か、それすら知らなかったわ
無視したいけど寝てるとき
耳元で蚊が飛んでたら目を
覚ますように、
耳障りで煩いんだよね
どこに住んでるかで
プライド誇示したいんだろうけど、
価値観わからん田舎もんに
したって通じないから
無駄だって早く理解してほしい
なんの話?
わし陸の孤島と呼ばれる
生粋の田舎育ちのどこに
出しても恥ずかしくない
田舎民だけど、
地図は分からんくても
23区がちゃんと出て
こないのにはさすがに
びっくりするわ。
自分も田舎出身だー
一般常識として東京に区が
23あることは知識として
最低限知っといた方が
良いと思うの過ぎたお国
自慢をウザいと感じることと、
自分の国の最低限の地理を
知らないことはまた別問題だよ
俺も田舎出身だけど
23区って数は知らなかった
数は変わるしなぁ
特別区って名前は知ってるし、
言うときはそっちつかってたわ
都道府県と同じくらいの
一般常識なのか
日本地図と県庁所在地と
世界地図と首都は暗記させ
られたけど、
23区そのものは習ってないな
みんな詳しいんだね
東京23区は知ってるけど、
じゃあ横浜市の区の数は?
って聞かれると
とっさに出てこない俺は横浜市民w
ちなみに高校生まで済んで
いた名古屋市の区の数も
答えられません
「◯◯区はどこ?」って
のには大抵答えられると思うけど
私も他の都市の区の数とか
分からないし、
育った県の市町村がいくつ
あるかも分からないわw
ただ東京は日本の
首都であることは
事実だからどこに何が
あるか詳細に
分からなくても数的な
知識は知ってて損しないかもと思う
良くも悪くも東京の
特別区が増えたり減ったり
する時はニュースになりそうよね
wikiで調べてみたら
東京都区部でヒットして
「東京23区または東京
特別区とも呼ばれる」
と書いてあった。
でも東京になじみのある
人でも知らないこと多いよ。
神奈川育ちで中高から東京
結構行ってたけど、
行ってた町くらいしか
分からないもの池袋とか
赤羽みたいな埼玉側は
もちろん23区も多分全部言えない
sage wiki 在 Saiber Youtube 的最讚貼文
การเดินทางครั้งใหม่จะเริ่มขึ้นใน Pokémon Sage! ภูมิภาคใหม่ การเดินทางครั้งใหม่ โปเกม่อนใหม่ รอให้เราได้ผจญภัยแล้ว !!
รับชมตอนอื่นๆได้ที่ https://www.youtube.com/playlist?list=PLRBbBnZL7HmshVISwWSLPEBAT95TU_hV_
Download this game! http://capx.wikia.com/wiki/Demo
Facebook Fanpage : https://www.facebook.com/saibergamer
Skype : Saibergamer
Google plus : https://plus.google.com/+Saibergamerls
Twitter :https://twitter.com/SaiberGamer
แชแนลสำรอง :https://www.youtube.com/user/SaibergamerBu
sage wiki 在 Saiber Youtube 的最讚貼文
การเดินทางครั้งใหม่จะเริ่มขึ้นใน Pokémon Sage! ภูมิภาคใหม่ การเดินทางครั้งใหม่ โปเกม่อนใหม่ รอให้เราได้ผจญภัยแล้ว !!
รับชมตอนอื่นๆได้ที่ https://www.youtube.com/playlist?list=PLRBbBnZL7HmshVISwWSLPEBAT95TU_hV_
Download this game! http://capx.wikia.com/wiki/Demo
เพลง
Diviners - Savannah (feat. Philly K) [NCS Release]
https://www.youtube.com/watch?v=u1I9ITfzqFs
Facebook Fanpage : https://www.facebook.com/saibergamer
Skype : Saibergamer
Google plus : https://plus.google.com/+Saibergamerls
Twitter :https://twitter.com/SaiberGamer
แชแนลสำรอง :https://www.youtube.com/user/SaibergamerBu
sage wiki 在 knit2synapse: Knit RMarkdown files to Synapse wikis. - GitHub 的推薦與評價
Functionality to knit RMarkdown documents to Synapse wiki pages. - GitHub - Sage-Bionetworks/knit2synapse: Functionality to knit RMarkdown documents to ... ... <看更多>