บริษัทเทคโนโลยี กำลังมีเงินสดล้นมือ /โดย ลงทุนแมน
ตอนนี้ทุกคนบนโลก กำลังใช้สินค้าที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ด้วยเหตุนี้ บริษัทเทคโนโลยีจึงทำเงินได้อย่างมากมายมหาศาล
แต่เรื่องที่น่าจะต้องยินดี กลับสร้างปัญหาบางเรื่องให้กับบริษัทเหล่านี้
นั่นก็คือ มันทำให้บริษัทมี “เงินสด” เยอะเกินไปนั่นเอง
เมื่อเป็นเช่นนี้ พวกเขาคงต้องหาทางใช้เงิน
คำถามคือ แล้วบริษัทเทคโนโลยีเหล่านี้ จะเอาเงินสดไปใช้ทำอะไรต่อได้บ้าง?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
แอปเขียนบล็อกอันดับ 1
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
อุตสาหกรรมเทคโนโลยี อยู่ในช่วงที่พัฒนาได้เร็วสุดในประวัติศาสตร์
ส่งผลให้ Apple, Amazon, Alphabet, Microsoft, Facebook ก้าวขึ้นมามีมูลค่าธุรกิจสูงสุดในโลก
สรุปผลการดำเนินงานของบริษัทเทคโนโลยี ในปี 2018
Apple Inc.
รายได้ 7,994,000 ล้านบาท เติบโต 16% จากปีก่อนหน้า
กำไร 1,792,000 ล้านบาท เติบโต 23% จากปีก่อนหน้า
Amazon.com, Inc.
รายได้ 7,010,000 ล้านบาท เติบโต 31% จากปีก่อนหน้า
กำไร 303,000 ล้านบาท เติบโต 232% จากปีก่อนหน้า
Alphabet Inc. (บริษัทแม่ของ Google)
รายได้ 4,118,000 ล้านบาท เติบโต 23% จากปีก่อนหน้า
กำไร 925,000 ล้านบาท เติบโต 143% จากปีก่อนหน้า
Microsoft Corporation
รายได้ 3,788,000 ล้านบาท เติบโต 14% จากปีก่อนหน้า
กำไร 1,181,000 ล้านบาท เติบโต 137% จากปีก่อนหน้า
Facebook, Inc.
รายได้ 1,680,000 ล้านบาท เติบโต 37% จากปีก่อนหน้า
กำไร 666,000 ล้านบาท เติบโต 39% จากปีก่อนหน้า
จากผลประกอบการที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้กำไรสะสมในรูปแบบของเงินสด เพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย
บริษัทที่มีเงินสดและทรัพย์สินหมุนเวียนสภาพคล่องเทียบเท่าเงินสด มากที่สุดในสหรัฐอเมริกา ได้แก่
อันดับ 1 Microsoft 4,112,000 ล้านบาท
อันดับ 2 Berkshire Hathaway 3,859,000 ล้านบาท
อันดับ 3 Alphabet 3,648,000 ล้านบาท
อันดับ 4 Apple 3,028,000 ล้านบาท
อันดับ 5 Facebook 1,574,000 ล้านบาท
อันดับ 6 Amazon 1,315,000 ล้านบาท
แน่นอนว่า การถือเงินสดเยอะ ย่อมแสดงถึงฐานะทางการเงินอันแข็งแกร่ง และเป็นเกราะป้องกันความเสี่ยงให้กับบริษัทได้
แต่ถ้าถือมันเอาไว้เกินความจำเป็น ก็อาจสร้างความไม่พอใจต่อผู้ถือหุ้นได้
เพราะจะทำให้พลาดโอกาสได้ผลตอบแทน หากนำเงินไปทำอย่างอื่น
แล้วจะมีวิธีไหนที่บริษัทจะใช้เงินสดของบริษัทให้น้อยลงได้?
เรื่องแรกคือ จ่ายเงินปันผล ในระยะสั้น บริษัทสามารถสร้างผลตอบแทนให้นักลงทุนได้ทันที ด้วยการจ่ายเงินปันผล อย่างไรก็ตาม วิธีนี้จะต้องเจอภาษีหัก ณ ที่จ่าย ซึ่งผู้ถือหุ้นจะได้เงินไม่เต็มจำนวนที่บริษัทได้จ่ายออกไป
แต่อีกวิธีหนึ่งที่กำลังนิยมใช้กัน เนื่องจากไม่ต้องเสียภาษีหัก ณ ที่จ่าย เหมือนเงินปันผล
นั่นก็คือการซื้อหุ้นคืนในตลาดหลักทรัพย์
โดยจำนวนหุ้นที่ลดลง จะทำให้กำไรต่อหุ้นเพิ่มขึ้น
และหากตลาดยังมีมุมมองในการให้มูลค่าต่อกำไรเหมือนเดิม ราคาต่อหุ้นก็จะปรับตัวขึ้นในที่สุด
ซึ่งเมื่อย้อนดูข้อมูลจะพบว่าในช่วงหลัง บริษัทเทคโนโลยีทุกแห่ง ยกเว้น Amazon ใช้วิธีนี้มาตลอด
ปี 2018
Apple ซื้อหุ้นคืน 2,130,000 ล้านบาท
Alphabet ซื้อหุ้นคืน 245,000 ล้านบาท
Microsoft ซื้อหุ้นคืน 459,000 ล้านบาท
Facebook ซื้อหุ้นคืน 388,000 ล้านบาท
ปี 2019 (สามไตรมาส)
Apple ซื้อหุ้นคืน 1,725,000 ล้านบาท
Alphabet ซื้อหุ้นคืน 370,000 ล้านบาท
Microsoft ซื้อหุ้นคืน 400,000 ล้านบาท
Facebook ซื้อหุ้นคืน 87,500 ล้านบาท
นอกจากจ่ายเงินปันผล และซื้อหุ้นคืน บริษัทยังมีวิธีไหนที่ใช้เงินสดได้อีก?
อีกวิธีหนึ่งก็คือ นำเงินไปลงทุนซื้อกิจการอื่นเพิ่มเติม
ถ้าบริษัทอยากหวังผลประโยชน์ที่ยั่งยืนในระยะยาว
บริษัทสามารถซื้อกิจการที่คิดว่าดี เพื่อรักษาระดับการเติบโตของบริษัทตามความคาดหวังของผู้ถือหุ้น
เราลองมาดูตัวอย่างการซื้อกิจการที่ผ่านมาของแต่ละบริษัทกัน
Apple ต่อยอดความสำเร็จให้กับผลิตภัณฑ์ Smart Device ของตนเอง
ปี 2011 ซื้อ Anobit Technologies ผู้ผลิตอุปกรณ์หน่วยความจำ มูลค่า 15,000 ล้านบาท
ปี 2014 ซื้อ Beats Electronics ผู้ผลิตหูฟังและอุปกรณ์เสียง มูลค่า 90,000 ล้านบาท
ปี 2018 ซื้อ Dialog Semiconductor ผู้ผลิตชิปอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มูลค่า 18,000 ล้านบาท
Amazon กระจายการลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับ E-Commerce และอินเทอร์เน็ต
ปี 2014 ซื้อ Twitch แพลตฟอร์มวิดีโอออนไลน์วงการเกม มูลค่า 29,000 ล้านบาท
ปี 2017 ซื้อ Whole Foods ธุรกิจซูเปอร์มาร์เก็ต ขายอาหารสดและของชำ มูลค่า 412,000 ล้านบาท
ปี 2018 ซื้อ PillPack ร้านขายยาออนไลน์ มูลค่า 39,000 ล้านบาท
Alphabet มีเป้าหมายที่จะขยายธุรกิจจากตลาดซอฟต์แวร์ไปสู่ฮาร์ดแวร์
ปี 2012 ซื้อ Motorola Mobility ผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือ มูลค่า 376,000 ล้านบาท
ปี 2014 ซื้อ Nest Labs ผู้ผลิตอุปกรณ์ Smart Home มูลค่า 96,000 ล้านบาท
ปี 2019 ซื้อ Fitbit ผู้ผลิตอุปกรณ์สวมใส่เพื่อสุขภาพ มูลค่า 64,000 ล้านบาท
Microsoft เสริมจุดแข็งด้านโปรแกรมต่างๆ ที่คนใช้งานบนอุปกรณ์ไอที
ปี 2011 ซื้อ Skype บริการสื่อสารผ่านวิดีโอคอลล์ มูลค่า 256,000 ล้านบาท
ปี 2016 ซื้อ LinkedIn เครือข่ายออนไลน์ในแวดวงธุรกิจ มูลค่า 789,000 ล้านบาท
ปี 2018 ซื้อ GitHub บริการจัดเก็บข้อมูลเขียน Code มูลค่า 226,000 ล้านบาท
Facebook ต้องการยึดครองทุกช่องทางการติดต่อสื่อสารบนโลกใบนี้
ปี 2012 ซื้อ Instagram แพลตฟอร์มเน้นการแชร์รูปภาพ มูลค่า 30,000 ล้านบาท
ปี 2014 ซื้อ WhatsApp แอปพลิเคชันแช็ต มูลค่า 662,000 ล้านบาท
ปี 2014 ซื้อ Oculus VR ผู้พัฒนาเทคโนโลยี Virtual Reality มูลค่า 60,000 ล้านบาท
อย่างไรก็ตาม แม้ว่ามีการใช้เงินเพื่อสร้างผลตอบแทนทั้งระยะสั้นและระยะยาวไปจำนวนมหาศาล
แต่สุดท้าย บริษัทเทคโนโลยี ก็ยังเหลือเงินสดเยอะอยู่ดี
ดังนั้นในอนาคต เราน่าจะได้เห็นการทยอยซื้อหุ้นคืน
หรือการแย่งซื้อกิจการที่น่าสนใจ เพื่อชิงความได้เปรียบในธุรกิจเทคโนโลยีกันอีกมากมาย
ปิดท้ายด้วยข้อมูลที่น่าสนใจ
เงินเหลือคงคลังของรัฐบาลไทย ประจำปีงบประมาณ 2019 อยู่ที่ 512,000 ล้านบาท
น้อยกว่าเงินสดในมือของบริษัทเหล่านี้เสียอีก..
╔═══════════╗
แอปเขียนบล็อกอันดับ 1
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
References
-https://www.cnbc.com/…/microsoft-apple-and-alphabet-are-sit…
-https://finance.yahoo.com/
-https://ycharts.com/companies/AAPL/stock_buyback
-https://ycharts.com/companies/GOOG/stock_buyback
-https://ycharts.com/companies/MSFT/stock_buyback
-https://ycharts.com/companies/FB/stock_buyback
-https://www.cbinsights.com/…/apple-biggest-acquisitions-in…/
-https://www.cbinsights.com/…/amazon-biggest-acquisitions-i…/
-https://www.cbinsights.com/…/google-biggest-acquisitions-i…/
-https://www.cbinsights.com/…/infographic-microsoft-biggest…/
-https://www.cbinsights.com/…/infographic-facebook-biggest-a…
-https://www.posttoday.com/finance-stock/news/604483
amazon.com inc stock 在 貓的成長美股異想世界 Facebook 的最佳解答
昨天Twilio發表財報, 跌了7.3%.
我還沒看TWLO的季報結果, 不過之前因為它不斷飆高, 我又做了些研究:
Twilio的產品其實被整合進了很多上市的軟體公司裡, 像是Adobe, Autodesk, Intuit, Microsoft, Oracle, Zendesk, Salesforce.com, ServiceNow.
而這句話也很有趣: "And both AWS and Twilio have an ecosystem of partners (Zendesk, amongst others), who have built contact center apps of their own, using these very same platforms." (Amazon的AWS是另一個主要的contact center平台)
不覺得很奇妙嗎? 軟體公司之間, 也建立了自己的生態系統.
這兩段寫Twilio也挺容易懂的:
"JMP Securities analyst Patrick Walravens was more helpful in explaining the Twilio lovefest from investors. He compared the company favorably to Amazon.com Inc.’s Amazon Web Services cloud-computing division, in that they both focus on providing tools to developers that are essential to their job, and profiting when those developers’ apps grow large.
“AWS started with three very commoditized products — compute, storage and bandwidth — but then they built layer upon layer on top of that,” the analyst explained. “Twilio in a very similar way begins with a couple of equally commoditized products, which is voice and messaging, and built a set of more sophisticated tools, and on top of more sophisticated tools they’ve built what is effectively applications.”
我的感覺是, 它已經成為生態系統中重要的一員後, 就等於是在慢慢做它的護城河了(而且還能跟Amazon的AWS分庭抗禮). 昨天的股價大跌, 應該也是一時的.
以上供參. 有興趣的讀者可以再多做些研究, 也可以爬一下季報結果.
文章來源: https://www.marketwatch.com/story/twilio-stock-has-already-tripled-this-year-and-is-headed-for-its-best-day-ever-heres-why-2018-11-07
amazon.com inc stock 在 主播 路怡珍 Facebook 的精選貼文
隨著2017年接近尾聲,明年的IPO市場究竟如何呢?科技公司的表現究竟誰比較有可能IPO?
綜觀Airbnb、Lyft 和Uber,這些獨角獸,雖然估值達數十億美元,但上市前景仍要打上問號。這批公司中最不可能上市融資的莫過於Uber了。新任首席執行長Dara Khosrowshahi稱,公司計劃在未來三年內上市,同時他仍在物色首席財務長人選。投資人在2018年能否見到LYFT或者ABNB這樣的股票代碼仍是未知,像是Lyft發言人Alexandra LaManna說,公司會在時機成熟的時候上市。
想反的,很多趨勢專家看中的、有可能在2018年上市的,反而是那些沒那麼受關注的公司。
#DocuSign
這間公司將其IPO意愿昭告天下,那就是DocuSign Inc.。該公司開發了用來管理數字文件和簽名的技術。總部位於舊金山的DocuSign 7月份對MarketWatch表示,公司打算於2018年年初上市。成立於2003年的DocuSign完成了一輪5億美元融資,估值達30億美元。該公司找到了一條能夠盈利、收入達到數億美元的道路。DocuSign不予置評。
#小米(Xiaomi)
路透(Reuters)最近的一篇報道稱,利潤可觀的小米公司也打算在2018年進行IPO。路透社報道稱,小米2017年收入較其原定目標高出18%,今年利潤至少有望達到10億美元,2018年收入料將達到20億美元,投行人士一直在勸說小米上市。路透援引匿名知情人士的話稱,小米以1,000億美元的估值進行IPO將顯得“合情合理”;小米公司的一名發言人證實小米2017年收入將超過150億美元的收入目標。
#Fanatics
儘管體育用品電商Fanatics Inc.今年從軟銀集團股份有限公司(SoftBank Group Corp., 9984.TO)融資10億美元,據《華爾街日報》(The Wall Street Journal)報道其總籌資額升至16億美元,但該公司仍在我們的有可能在2018年上市的公司名單上。原因在於:該公司正在拼命擴張。稍一瀏覽電商巨頭亞馬遜公司(Amazon.com Inc., AMZN)財報就會發現,建設倉庫、配送中心及配送網購體育用品所需的其餘實體基礎設施很費錢,更何況Fanatics還是自己生產商品。2016年Fanatics收入超過14億美元,為美國主要三字母賽事聯盟、全美賽車聯合會(National Association for Stock Car Auto Racing)及100多個大學和職業運動隊經營電商銷售中心。
#Spotify
上市並不意味著要進行IPO:預計總部位於歐洲的Spotify AB將獲得美國證券交易委員會(Securities and Exchange Commission)的批準直接上市。直接上市與IPO的區別在於前者不籌資,也不聘用承銷商出售股票。對Spotify來說,這意味著上市成本更低,且現有股東股權不會被稀釋。據《華爾街日報》,Spotify已籌資逾10億美元,2015年6月時的估值為85億美元;IPO觀察人士稱大公司在交易所直接上市的例子很少。不過值得指出的是,Spotify高管仍有可能選擇走傳統的IPO上市道路。
#23andMe
生物技術公司23andMe Inc.是一家有趣的公司。這家公司向消費者出售基因檢測服務,然後又將所獲得的數據轉手賣給研究機構和非營利組織。該公司還有希望最終獲得第三個收入來源——自己研發和銷售藥品。截至2017年9月,該公司估值為17億美元,已經出售了200萬套從99美元至199美元價值不等的檢測工具,而且2013年遇到一些麻煩以後,該公司和美國食品藥品管理局 (Food and Drug Administration)的關係似乎已改善。
#Dropbox
競爭對手Rival Box Inc. (BOX) 2015年已上市,並開始開拓在線存儲業務以外的領域,這使得外界猜測Dropbox Inc.是否計劃進行一場有利可圖的IPO。該公司守口如瓶,其發言人在與MarketWatch的電話交流中對於是否有任何潛在上市計劃不予置評。據《華爾街日報》的統計,Dropbox擁有20萬個企業客戶,其中涵蓋幾乎所有的財富500強企業。Dropbox似乎準備籌措更多現金,並進行下一個重大押注以推動其利潤增長。但正如Daniels所說,該公司已經籌集了6.07億美元,估值達到100億美元,已獲得數量未知的收入和利潤,管理者們可能會暫停腳步等待下一個新想法出現。
#Pinterest
另有一些初創企業似乎準備上市,但仍不太可能很快進行。Pinterest Inc.就是其中之一。據《The Information》的12月報告,該公司高管預計公司將無法實現其5億美元的2017年全年收入目標,預計將獲得4.9億美元收入,並錄得大約1億美元虧損。因此,報告稱該公司已經將IPO日期推遲至2019年,以追上其123億美元的估值。不過,據稱Pinterest預計2017年收入同比增長64%