รายการ #ชัวร์แน่หรือแชร์มั่ว EP. 19 "ไม่ควรดื่มน้ำจากขวดที่ตากแดด จริงหรือ ? "
มีข่าวลือว่า "ขวดน้ำตากแดด จะทำให้เกิดสารอันตรายขึ้น" เป็นเรื่องจริง หรือเรื่องมั่ว ?? คำตอบคือ เป็นเรื่องมั่วครับ !!
1. ขวดพลาสติกที่ใช้บรรจุน้ำดื่มจำหน่ายในประเทศไทยนั้น มักจะมี 2 แบบคือ ขวดสีขาวขุ่นและขวดใสไม่มีสี โดยพวกขวดขุ่นนั้น จะทำจากพลาสติกชนิดโพลีเอทีลีน (PE หรือ polyethylene หรือ PE) ส่วนขวดใส จะทำจากพลาสติกชนิดโพลีเอธิลีน เทเรพธาเลต (polyethylene terephthalate หรือ PET) ซึ่งพบว่า ปัจจุบัน พวกขวด PET จะเป็นที่นิยมใช้มากกว่าขวด PE
2. ขวด PET ที่นิยมใช้เป็นขวดใสใส่น้ำดื่มหรือเครื่องดื่มต่างๆ นั้น ถูกผลิตมาให้เป็นขวดที่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง แต่สามารถนำมากลับมารีไซเคิ้ลได้ โดยเมื่อดูที่ก้นขวด มักจะเห็นเครื่องหมายลูกศร วนเป็นสามเหลี่ยมนั่น มีเลข 1 อยู่ตรงกลาง หมายถึงบรรจุภัณฑ์พลาสติกนั้นเป็นชนิด PET
3. ความที่มีหลายคนนิยมเก็บขวดน้ำดื่มเอาไว้ในรถ ซึ่งบางครั้งต้องไปจอดตากแดดทั้งวันจนมีอากาศร้อนจัด ทำให้เกิดข่าวลือข่าวมั่วทำนองที่ว่า อุณหภูมิที่สูงมากในรถจะทำให้สารเคมีที่อยู่ในขวดพลาสติกออกมาปนเปื้อนในน้ำ เช่น สาร BPA และเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค ส่งผลต่อความผิดปรกติของพันธุกรรม เป็นโรคมะเร็งได้
4. สาร BPA (หรือ bisphenal A) นั้น แม้ว่าจะเป็นสารที่มีลักษณะคล้ายฮอร์โมนเพศ และมีความกังวลกันว่าอาจจะเกิดอันตรายต่อผู้บริโภคได้ถ้าได้รับเข้าไปมาก แต่ความจริงแล้ว มันไม่ได้เป็นองค์ประกอบของพลาสติกที่มาทำเป็นขวด PET แต่อย่างไร ... สาร BPA นี้ ส่วนมากใช้ยารอยต่อของโลหะของกระป๋องอาหาร และใช้ผลิตพลาสติกพวกโพลีคาร์บอเนต (polycarbonate หรือ PC) และเคยนำมาใช้ในการผลิตเป็นขวดนมเด็กทารก แต่ปัจจุบันได้มีการรณรงค์ให้ยกเลิกการใช้ผลิตภาชนะสำหรับเด็กทารกไปแล้ว
5.1 นอกจากสาร BPA ก็ยังมีสารเคมีตัวอื่นที่แชร์กันว่าออกมาจากขวด PET อีกเช่น สารไดออกซิน (dionxin) และสารพีซีบี PCB ดังนั้นโดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข จึงได้ทำการทดลองนำน้ำดื่มที่บรรจุในขวดพลาสติกที่จําหน่ายในตลาดสดและซุปเปอร์มาเก็ต จํานวน 18 ยี่ห้อ ไปวางในรถที่จอดกลางแดดเป็นเวลา 1 วัน และ 7 วัน
5.2 จากนั้นตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุ่ม Dionxin จํานวน 17 ตัว และ PCB จํานวน 18 ตัว โดยใช้เทคนิคขั้นสูง Isotope Dilution และวัดปริมาณด้วยเครื่องมือ High Resolution Gas Chromatography/High Resolution Mass Spectrometry ... ผลการวิเคราะห์สรุปว่า ตรวจไม่พบ สารประกอบกลุ่ม Dionxin และ PCB ในทุกตัวอย่างน้ำดื่มบรรจุขวด (ดู https://www.hiso.or.th/hiso5/healthy/news.php?names=08&news_id=5429)
6. จริงๆ แล้ว สารเคมีที่เป็นองค์ประกอบของขวด PET และอาจจะมีออกมาจากพลาสติกชนิดนี้ได้นั้น ก็มีอยู่บ้าง ตัวอย่างเช่น สารอะซิทอลดีไฮด์ (acetaldehyde) แต่มีปริมาณน้อยมาก และไม่น่าจะเป็นกังวล โดยสารอะซิทอลดีไฮด์นี้ แค่อาจจะทำให้น้ำเปล่าในขวดมีกลิ่นที่ไม่น่าดื่ม (ดู https://en.wikipedia.org/wiki/Polyethylene_terephthalate)
7. สารอีก 2 ตัว ที่มีคนกังวลเช่นกันว่าอาจจะปนเปื้อนมาในน้ำดื่มได้ เมื่อขวดนั้นถูกตากแดดทิ้งไว้ โดนความร้อนเป็นเวลายาวนาน คือ สารธาเลต (phthalate) และสาร พลวง (antimony) ... แต่จากงานวิจัยในอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ. 2012 พบว่า ถ้าจะให้ระดับของสารเหล่านี้ละลายออกมาอยู่ในน้ำดื่มบรรจุขวด จนเกินมาตรฐานที่อียูกำหนดไว้นั้น ขวดน้ำดังกล่าวจะต้องตั้งไว้ในที่อุณหภูมิสูงเกิน 60 องศาเซลเซียส นานเป็นเวลาเกิน 11 เดือน (ดูรายละเอียด https://en.wikipedia.org/wiki/Polyethylene_terephthalate#Safety)
8. ในประเทศไทยนั้น มาตรฐานของขวด PET ที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดไว้ ระบุว่าต้องทนต่อความร้อนจัดตั้งแต่ 60 ถึง 95 องศาเซลเซียสได้ โดยเคยมีการสุ่มตรวจขวดน้ำ PET กว่า 10 บริษัท และพบว่า ปริมาณของสารต่างๆ ที่ละลายออกมานั้น ไม่ได้สูงเกินมาตรฐาน (http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/webroot/BQSF/File/VARITY/recycle_plastic.htm)
9. อย่างไรก็ตาม จากการที่ขวด PET ถูกออกแบบมาให้ใช้เพียงแค่ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ดังนั้น การที่บางคนนิยมนำมาใส่น้ำบริโภคซ้ำๆ หลายครั้ง ทางกระทรวงสาธารณสุขไม่แนะนำให้ทำตาม ซึ่งเหตุผลไม่ใช่การกลัวว่าจะมีสารเคมีละลายออกมาจากการใช้ขวดซ้ำ แต่เป็นเพราะว่าอาจจะมีเชื้อโรคและสิ่งสกปรกต่างๆ ตกค้าง ถ้าล้างทำความสะอาดไม่ดีพอก่อนที่จะใส่น้ำลงไปใหม่ (โดยเฉพาะบริเวณปากขวดนั้น ถ้าล้างไม่สะอาด อาจกลายเป็นที่สะสมเชื้อโรคได้)
10. บางคนบอกว่า เก็บขวดน้ำดื่มที่ดื่มแล้วบางส่วน ไว้ในรถที่จอดตากแดด เมื่อกลับมาดื่มใหม่วันหลัง พบว่ามีกลิ่นเหม็นเกิดขึ้นในน้ำ เป็นกลิ่นจากสารเคมีออกมาหรือเปล่า ? คำตอบคือไม่ใช่ แต่เป็นกลิ่นที่เกิดจากเชื้อจุลินทรีย์ในช่องปากของเรา ปนลงไปอยู่ในน้ำ และเจริญเติบโตพร้อมกับสร้างกลิ่นขึ้น พูดง่ายๆก็คือกลิ่นปากเรานั้นเอง 55
สรุป : น้ำดื่มที่บรรจุขวด PET และเก็บในรถที่จอดตากแดดนั้น ไม่ได้อันตราย ไม่ได้มีสารก่อมะเร็งปนเปื้อน ตัวของขวด
PET เอง ก็สามารถเก็บน้ำดื่มไว้ได้นานถ้ายังไม่ได้เปิดขวด (แต่ก็ควรจัดเก็บในที่ที่ไม่ร้อน ไม่ใช่เอาไปตากแดดไว้เวลาหลายเดือน) และถ้าไม่จำเป็น ก็ไม่ควรเอามาใช้ซ้ำครับ
同時也有4部Youtube影片,追蹤數超過8,540的網紅長谷川ろみの腸活研究所,也在其Youtube影片中提到,シナモン白湯にハマっています。 ほうれい線が薄くなるといいなぁ…しみしわたるみもなくなったらいいなぁ…。 ↓おすすめの白湯の作り方です。 https://youtu.be/gRtRKAZ9HvY #シナモン #スパイス #アンチエイジング ----------- ▽長谷川ろみの活動概要 ・元おデ...
「chromatography」的推薦目錄:
- 關於chromatography 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最讚貼文
- 關於chromatography 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
- 關於chromatography 在 A Happy Mum Facebook 的最佳解答
- 關於chromatography 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的最佳貼文
- 關於chromatography 在 Mrs1am-ology 一點小哲學 Youtube 的精選貼文
- 關於chromatography 在 Yonemura Denjiro Science Production Youtube 的精選貼文
chromatography 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
สรุปความรู้เรื่อง "ขวด PET บรรจุน้ำดื่ม : ไม่ได้อันตราย ตากแดดได้ แต่ไม่ควรเอามาใช้ซ้ำบ่อยๆ"
เมื่อวันศุกร์ สถานี thai PBS มาสัมภาษณ์เกี่ยวกับขวดน้ำพลาสติกแบบขวด PET ในประเด็นข่าวลือมั่ว เก่าๆ ที่ว่า "ขวดน้ำตากแดด จะทำให้เกิดสารอันตรายขึ้น" ซึ่งไม่เป็นความจริงแต่อย่างไร
วันนี้ ก็เลยเอาข้อมูลเก่ามาเรียบเรียงใหม่ให้อ่านกัน แบบครบทุกประเด็นนะครับ
1. ขวดพลาสติกที่ใช้บรรจุน้ำดื่มจำหน่ายในประเทศไทยนั้น มักจะมี 2 แบบคือ ขวดสีขาวขุ่นและขวดใสไม่มีสี โดยพวกขวดขุ่นนั้น จะทำจากพลาสติกชนิดโพลีเอทีลีน (PE หรือ polyethylene หรือ PE) ส่วนขวดใส จะทำจากพลาสติกชนิดโพลีเอธิลีน เทเรพธาเลต (polyethylene terephthalate หรือ PET) ซึ่งพบว่า ปัจจุบัน พวกขวด PET จะเป็นที่นิยมใช้มากกว่าขวด PE
2. ขวด PET ที่นิยมใช้เป็นขวดใสใส่น้ำดื่มหรือเครื่องดื่มต่างๆ นั้น ถูกผลิตมาให้เป็นขวดที่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง แต่สามารถนำมากลับมารีไซเคิ้ลได้ โดยเมื่อดูที่ก้นขวด มักจะเห็นเครื่องหมายลูกศร วนเป็นสามเหลี่ยมนั่น มีเลข 1 อยู่ตรงกลาง หมายถึงบรรจุภัณฑ์พลาสติกนั้นเป็นชนิด PET
3. ความที่มีหลายคนนิยมเก็บขวดน้ำดื่มเอาไว้ในรถ ซึ่งบางครั้งต้องไปจอดตากแดดทั้งวันจนมีอากาศร้อนจัด ทำให้เกิดข่าวลือข่าวมั่วทำนองที่ว่า อุณหภูมิที่สูงมากในรถจะทำให้สารเคมีที่อยู่ในขวดพลาสติกออกมาปนเปื้อนในน้ำ เช่น สาร BPA และเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค ส่งผลต่อความผิดปรกติของพันธุกรรม เป็นโรคมะเร็งได้
4. สาร BPA (หรือ bisphenal A) นั้น แม้ว่าจะเป็นสารที่มีลักษณะคล้ายฮอร์โมนเพศ และมีความกังวลกันว่าอาจจะเกิดอันตรายต่อผู้บริโภคได้ถ้าได้รับเข้าไปมาก แต่ความจริงแล้ว มันไม่ได้เป็นองค์ประกอบของพลาสติกที่มาทำเป็นขวด PET แต่อย่างไร ... สาร BPA นี้ ส่วนมากใช้ยารอยต่อของโลหะของกระป๋องอาหาร และใช้ผลิตพลาสติกพวกโพลีคาร์บอเนต (polycarbonate หรือ PC) และเคยนำมาใช้ในการผลิตเป็นขวดนมเด็กทารก แต่ปัจจุบันได้มีการรณรงค์ให้ยกเลิกการใช้ผลิตภาชนะสำหรับเด็กทารกไปแล้ว
5.1 นอกจากสาร BPA ก็ยังมีสารเคมีตัวอื่นที่แชร์กันว่าออกมาจากขวด PET อีกเช่น สารไดออกซิน (dionxin) และสารพีซีบี PCB ดังนั้นโดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข จึงได้ทำการทดลองนำน้ำดื่มที่บรรจุในขวดพลาสติกที่จําหน่ายในตลาดสดและซุปเปอร์มาเก็ต จํานวน 18 ยี่ห้อ ไปวางในรถที่จอดกลางแดดเป็นเวลา 1 วัน และ 7 วัน
5.2 จากนั้นตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุ่ม Dionxin จํานวน 17 ตัว และ PCB จํานวน 18 ตัว โดยใช้เทคนิคขั้นสูง Isotope Dilution และวัดปริมาณด้วยเครื่องมือ High Resolution Gas Chromatography/High Resolution Mass Spectrometry ... ผลการวิเคราะห์สรุปว่า ตรวจไม่พบ สารประกอบกลุ่ม Dionxin และ PCB ในทุกตัวอย่างน้ำดื่มบรรจุขวด (ดู https://www.hiso.or.th/hiso5/healthy/news.php?names=08&news_id=5429)
6. จริงๆ แล้ว สารเคมีที่เป็นองค์ประกอบของขวด PET และอาจจะมีออกมาจากพลาสติกชนิดนี้ได้นั้น ก็มีอยู่บ้าง ตัวอย่างเช่น สารอะซิทอลดีไฮด์ (acetaldehyde) แต่มีปริมาณน้อยมาก และไม่น่าจะเป็นกังวล โดยสารอะซิทอลดีไฮด์นี้ แค่อาจจะทำให้น้ำเปล่าในขวดมีกลิ่นที่ไม่น่าดื่ม (ดู https://en.wikipedia.org/wiki/Polyethylene_terephthalate)
7. สารอีก 2 ตัว ที่มีคนกังวลเช่นกันว่าอาจจะปนเปื้อนมาในน้ำดื่มได้ เมื่อขวดนั้นถูกตากแดดทิ้งไว้ โดนความร้อนเป็นเวลายาวนาน คือ สารธาเลต (phthalate) และสาร พลวง (antimony) ... แต่จากงานวิจัยในอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ. 2012 พบว่า ถ้าจะให้ระดับของสารเหล่านี้ละลายออกมาอยู่ในน้ำดื่มบรรจุขวด จนเกินมาตรฐานที่อียูกำหนดไว้นั้น ขวดน้ำดังกล่าวจะต้องตั้งไว้ในที่อุณหภูมิสูงเกิน 60 องศาเซลเซียส นานเป็นเวลาเกิน 11 เดือน (ดูรายละเอียด https://en.wikipedia.org/wiki/Polyethylene_terephthalate#Safety)
8. ในประเทศไทยนั้น มาตรฐานของขวด PET ที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดไว้ ระบุว่าต้องทนต่อความร้อนจัดตั้งแต่ 60 ถึง 95 องศาเซลเซียสได้ โดยเคยมีการสุ่มตรวจขวดน้ำ PET กว่า 10 บริษัท และพบว่า ปริมาณของสารต่างๆ ที่ละลายออกมานั้น ไม่ได้สูงเกินมาตรฐาน (http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/webroot/BQSF/File/VARITY/recycle_plastic.htm)
9. อย่างไรก็ตาม จากการที่ขวด PET ถูกออกแบบมาให้ใช้เพียงแค่ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ดังนั้น การที่บางคนนิยมนำมาใส่น้ำบริโภคซ้ำๆ หลายครั้ง ทางกระทรวงสาธารณสุขไม่แนะนำให้ทำตาม ซึ่งเหตุผลไม่ใช่การกลัวว่าจะมีสารเคมีละลายออกมาจากการใช้ขวดซ้ำ แต่เป็นเพราะว่าอาจจะมีเชื้อโรคและสิ่งสกปรกต่างๆ ตกค้าง ถ้าล้างทำความสะอาดไม่ดีพอก่อนที่จะใส่น้ำลงไปใหม่ (โดยเฉพาะบริเวณปากขวดนั้น ถ้าล้างไม่สะอาด อาจกลายเป็นที่สะสมเชื้อโรคได้)
10. บางคนบอกว่า เก็บขวดน้ำดื่มที่ดื่มแล้วบางส่วน ไว้ในรถที่จอดตากแดด เมื่อกลับมาดื่มใหม่วันหลัง พบว่ามีกลิ่นเหม็นเกิดขึ้นในน้ำ เป็นกลิ่นจากสารเคมีออกมาหรือเปล่า ? คำตอบคือไม่ใช่ แต่เป็นกลิ่นที่เกิดจากเชื้อจุลินทรีย์ในช่องปากของเรา ปนลงไปอยู่ในน้ำ และเจริญเติบโตพร้อมกับสร้างกลิ่นขึ้น พูดง่ายๆก็คือกลิ่นปากเรานั้นเอง 55
สรุป : น้ำดื่มที่บรรจุขวด PET และเก็บในรถที่จอดตากแดดนั้น ไม่ได้อันตราย ไม่ได้มีสารก่อมะเร็งปนเปื้อน ตัวของขวด
PET เอง ก็สามารถเก็บน้ำดื่มไว้ได้นานถ้ายังไม่ได้เปิดขวด (แต่ก็ควรจัดเก็บในที่ที่ไม่ร้อน ไม่ใช่เอาไปตากแดดไว้เวลาหลายเดือน) และถ้าไม่จำเป็น ก็ไม่ควรเอามาใช้ซ้ำครับ
ภาพ จาก https://sure.oryor.com/index.php/detail/media_specify/636
chromatography 在 A Happy Mum Facebook 的最佳解答
I know, it's been way too long since I did a Creativity 521 post. That's not to say that we have not been doing any art and craft sessions at home - okay, I admit we have been doing much less than before - but it's just that I don't get enough time or energy to jot it down. Crafting still remains as one of my biggest passions in life and I love being able to create something out of nothing.
That said, I was sharing about our recent experiment on social media and I received so many queries from you guys that I thought it might be better to share it all in a blog post. Here's sharing more about our PAPER CHROMATOGRAPHY experiment and how we turned the end results into the most beautiful bookmarks.
chromatography 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的最佳貼文
シナモン白湯にハマっています。
ほうれい線が薄くなるといいなぁ…しみしわたるみもなくなったらいいなぁ…。
↓おすすめの白湯の作り方です。
https://youtu.be/gRtRKAZ9HvY
#シナモン
#スパイス
#アンチエイジング
-----------
▽長谷川ろみの活動概要
・元おデブ-20kg/アラフォー
・発酵ライフ推進協会 通信校 校長 &プロデュース
・東京商工会議所認定 健康経営アドバイザー
・腸活メディア「腸内革命」編集長 & 講師
・著書「発酵菌早わかりマニュアル」
・2019/6~腸活youtuber始めました!
↓こっそり裏チャンネルやってます
https://www.youtube.com/channel/UCyyarsrT2I1U5L94elPeHsA/join
Twitter:https://twitter.com/haseromi
Instagram:https://www.instagram.com/hasegawaromi/
-----------
▼関連動画
シナモンの種類と美容・健康効果は違う!あまり知られていない安全性の激しい差
https://www.youtube.com/watch?v=St5TfAeXH7E
シナモンパウダーの効果を徹底解明!産地によって副作用も??シナモンでゴースト血管撃退!毛細血管のケア抗酸化効果・育毛効果も!
https://www.youtube.com/watch?v=mKrq4O6g13Q
コーヒーにシナモンを入れると痩せて老化防止に?シナモンコーヒーの美容・健康効果5選!一日の目安量は?
https://www.youtube.com/watch?v=PAovSFXqqYQ
スパイスの栄養学。スパイスで体の炎症を取る!素晴らしい効果をご紹介します【栄養チャンネル信長】
https://www.youtube.com/watch?v=YH9mr-rEyu8
▼参考論文&研究
シナモン含有食品中のクマリンについて
https://www.fukushihoken.metro.tokyo.lg.jp/shokuhin/hyouka/files/20hyouka2-siryo2-3.pdf
Authentication and quantitative analysis on the chemical profile of cassia bark (cortex cinnamomi) by high-pressure liquid chromatography
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/15796573/
資生堂、加齢による皮膚毛細血管の機能低下が皮膚老化に関与していることを解明
https://corp.shiseido.com/jp/releimg/1693-j.pdf
※この動画は、診断・治療または医療アドバイスを提供しているわけではありません。あくまで情報提供のみを目的としています。
※診断や治療に関する医療については、医師または医療専門家に相談してください。この動画は医療専門家からのアドバイスに代わるものでもありません。
chromatography 在 Mrs1am-ology 一點小哲學 Youtube 的精選貼文
踏入暑假,活動真係多到呢,林小姐都唔例外,未開學就先有暑期活動,真係好巴閉! 是日就去咗 #馬灣太陽館 參加 SOLAR CAMP STEAM日營,首先我哋有一個小小嘅講座,講解點解幼兒時期就可以開始認識Steam,仲會解釋乜嘢係Steam,乜野係Stem,我都係而家先知唔同添 ! 你又知唔知有咩分別呢?
言歸正傳,今日有啲咩玩呢? 我哋今日做小小科學家, 做科學實驗啊! 以為好難?其實bb都做到㗎, 而且好多材料係日常生活裏面都搵得到, 阿媽返屋企都可以一齊玩, 從生活中學習物質物理甚至 質量嘅變化, 唔使充滿大道理,小朋友淨係望到唔同嘅效果,都已經好開心好好奇, 呢一個就係Steam 嘅意義!
#同場加映
入得馬灣梗係發掘下唔同嘅嘢玩, 今日就同好朋友一齊去沙灘執貝殼, 對住青馬大橋, 環境真係一流, 啲沙唔算好滑但係都算乾淨,重點係。。。唔算多人,小朋友玩得十分開心!
《STEAM 幼兒日營》
#日期: 11/7 (Thu) 、26/7 (Fri) 、17/8 (Sat) 、18/8 (Sun)
#費用 : 日營 每位$650 , 家長$80
#活動內容
上午?趣味遊戲建立幼兒科學及邏輯思維、午餐
下午?親子Treasure Hunt
??極速火箭Balloon rocket (rocket sience)
??指模破案Forensic fingerprints (dermatoglyphics)
??幻彩牛奶Tie-dye milk (surface tension)
??顏色競賽Marker Chromatography (liquid chromatography)
??自製彩虹Rainbow in a cup (density gradient)
查詢: 8201 1122
FB: https://www.facebook.com/solartowercamp/
#及早認識親子STEAM #發掘興趣 #發展所長
#絕非小學生專利 我地為 K1-K3既小朋友透過各類互動體驗每項STEAM的活動 #SOLARCAMP
chromatography 在 Yonemura Denjiro Science Production Youtube 的精選貼文
夏休みの自由研究におすすめの楽しい実験!
ペーパークロマトアートの第6弾です!
今回は「ろ紙」ではなく、「9種類の紙」で実験します。
さあどの紙が一番ぴったりなのでしょうか?
ペーパークロマトグラフィーは約110年前に発見された化学分析手法、ろ紙を使うとても簡単な方法ですが、物質の成分を分解することのできるすごい実験でなのです。
ペーパークロマトグラフィー、ろ紙、水性ペン、
Amazing experiment ,Paper chromatography
全国各地にてサイエンスショー開催中!
開催スケジュールとご依頼はこちらまで>>http://www.denjiro.co.jp
米村でんじろうサイエンスショー>>https://youtu.be/m2_CcrSvZC8
弟子たちによるサイエンスショー>>https://youtu.be/lLs74id3bPo
制作:米村でんじろうサイエンスプロダクション
監修:米村でんじろう
出演・撮影・編集:チャーリー西村
HP:http://www.denjiro.co.jp/
この動画に記載の情報、および、弊社製品の著作権は米村でんじろうサイエンスプロダクションに帰属します。私的かつ非商業目的で使用する場合、著作権法により認められる場合を除き、事前に弊社による許可を受けずに、複製、公衆送信、改変、切除、実演等の行為は著作編法により禁止されています。
©YONEMURA DENJIRO SCIENCE PRODUCTION
chromatography 在 chromatography | Definition, Types, & Facts | Britannica 的相關結果
chromatography, technique for separating the components, or · Kinetic molecular motion continuously exchanges solute molecules between the two phases. ... <看更多>
chromatography 在 Separation techniques: Chromatography - NCBI 的相關結果
Chromatography is based on the principle where molecules in mixture applied onto the surface or into the solid, and fluid stationary phase ( ... ... <看更多>
chromatography 在 Principles of chromatography | Stationary phase (article) 的相關結果
'Chromatography' is an analytical technique commonly used for separating a mixture of chemical substances into its individual components, ... ... <看更多>