อย่างที่หลาย ๆ คนรู้ว่านครปฐมนั้นอุดมไปด้วยของกินเด็ด ๆ แทบทุกมุมเมือง แต่ถ้าจะให้พูดถึงร้านหมูปิ้งเด็ด ๆ ชื่อหนึ่งที่จะโผล่ขึ้นมาในใจชาวนครปฐมคงหนีไม่พ้น
'หมูปิ้งเวล' ✨ อีกหนึ่งร้านเด็ดนครปฐม ที่ดูเหมือนจะธรรมดา ๆ แต่เมื่อได้ลองจะรู้ว่า ทำไมเจ้าหมูปิ้งไม้ใหญ่เหล่านี้ ถึงอยู่ในใจชาวนครปฐมมาอย่างยาวนาน โดยเฉพาะเด็กทับแก้วที่ชอบนอนดึก ๆ ไม่มีใครไม่รู้จักร้านนี้! 😍
.
อ่านบทความเต็ม ๆ ได้ที่ 👉🏻 https://www.wongnai.com/news/moowell
.
“ร้านนี้กินมาตั้งแต่สมัยเรียนทับแก้วเกือบ 20 ปีมาแล้ว สมัยนู้นร้านขายอยู่แถวโรงแรมเวล ตอนกลางคืนเพื่อนผู้ชายปั่นจักรยานไปซื้อมาส่งให้หลังหอเป็นประจำ กินไปอ่านหนังสือไป ติดใจรสชาติไม่ลืม 😋
.
พอเรียนจบ เวลามีโอกาสผ่านไปแถวตัวเมืองนครปฐม ต้องแวะซื้อตลอด หมูปิ้งที่นี่เป็นหมูปิ้งจริง ๆ หอมกลิ่นปิ้งมาก ไม่ใช่หมูปิ้งนมสดเหมือนสมัยนี้มีขายกัน แถมมีน้ำจิ้มรสชาติหวาน เปรี้ยว เผ็ด ครบรส ให้กินคู่กัน รสชาติเยี่ยมเลย” 👍🏻 (รีวิวโดยคุณ B@sKeTb@LL)
.
“เป็นที่รู้กันดีว่าการซื้อหมูเวลไม่ใช่เรื่องง่ายนัก ก็ไหนจะคนต่อคิวกัน ถ้ามาช้าอาจได้กินไก่เวลแทน เพราะหมูหมดไปตั้งแต่หัวค่ำ เพราะคนรอซื้อกันเยอะนี่แหละ 'หมูปิ้ง' ร้านนี้ขายไม้ละ 10 บาท ปริมาณเนื้อหมูและมันหมู 50-50% เด็ดต้องลองครับ” 🤤 (รีวิวโดยคุณ mhamwanida)
.
“หมูเวล หมูปิ้งที่เด็กทับแก้วทุกคนต้องรู้จัก ✨ อยู่นครปฐมมาหลายปี เพิ่งจะได้ยินกิตติศัพท์ความเด็ดขั้นเทพของ หมูเวล ก็ตอนเรียนที่ทับแก้วนี่ละค่ะ เมื่อ 10 ปีก่อน ใน ม.ยังไม่มีร้านสะดวกซื้อตรงหอสมุดนะคะ สาว ๆ เฟรชชี่แทบทุกคน ยกเว้นเด็กเดินเรียน ก็มักจะอยู่หอใน
.
เมื่อความหิวในยามค่ำคืนของสาว ๆ และความเพียรพยายามของชายหนุ่ม ตำนานรักหมูเวลจึงเกิดขึ้น เป็นที่รู้กันว่า หากหนุ่มคนไหนซื้อหมูเวลมาฝาก แปลว่า จีบชัวร์ 🥰 หมูที่ร้านขายถูกมาก มี หมูปิ้ง ปีกไก่ย่าง ตับ หมูติดมันหน่อย ๆ กินกับน้ำจิ้มรสเด็ดมาก คุณลุงคนขายอัธยาศัยดี เป็นกันเองค่ะ” ❤ (รีวิวโดยคุณ mint)
.
ต้องบอกเลยว่าถ้าดูหน้าร้าน หมูปิ้งเวล อาจจะธรรมดา แต่ถ้าได้ลองเมื่อไร รับรองว่าติดใจ เพราะชาวถิ่นเคลมไว้เยอะพอสมควรว่าถ้ามาถึงนครปฐมไม่ลองเหมือนมาไม่ถึงจริง ๆ อยากแนะนำให้ลองของดีที่เรียกได้ว่ากลายเป็นตำนานของชาวทับแก้วว่า หนุ่มคนไหนไปรอให้ถือว่าทุ่มสุดใจให้สาว เพราะการรอคิวนั้นยาวกว่าชั่วโมงจริง ๆ 💥 โดยร้านของคุณลุงตอนนี้ย้ายมาจากหลังเวลแล้วค่ะ ร้านหาไม่ยาก จากหน้า ม.ศิลปากร ตรงไปทางองค์พระ เลยไฟแดงแยกเวลไปหน่อยก็จะเจอกับร้านของคุณลุงค่ะ 🥰
.
🍴 : หมูเวล
📍 : ถนน ราชวิถี นครปฐม (ย้ายมาอยู่ลานจอดรถตลาดโอเดี้ยน)
⏰ : เปิด ทุกวัน 19.00 - 22.00 น.
⭐️ : ดูพิกัด และ รีวิวเพิ่มเติม 👉🏻 https://www.wongnai.com/restaurants/125899VG
________________________
#Wongnai ค้นหาข้อมูลร้านอาหารจากทั่วประเทศ และ แบ่งปันรีวิวกันได้ที่แอป Wongnai ▶️ ดาวน์โหลดฟรีที่นี่ >> http://bit.ly/2U0bdn
As many people know, Nakhon Pathom is rich in delicious food in every corner of the city. But if you want to talk about a great grilled pig shop, one name that will come up in the heart of Nakhon Pathom people, it won't be able to escape
'Pig toasted Vale' ✨ Another great restaurant in Nakhon Pathom that seems normal. But when you try, you will know why these big grilled pigs are in the heart of Nakhon Pathom people. Especially for sleeping lovers. Late night no one doesn't know this shop! 😍
.
Read the full article at 👉🏻 https://www.wongnai.com/news/moowell
.
′′ This restaurant has been eating since I was in Tub Kaew school for almost 20 years. In the past, the shop was near the hotel. At night, the friend of the man who cycled and bought it for me to send it to the back of the dormitory regularly. Eat and read it.
.
When I graduated, I have a chance to pass by near downtown Nakhon Pathom. I have to buy them all the time. This is a grilled pork. It smells so good. It's not fresh milk pork. It's sold out. There are sweet, sour, spicy, delicious sauce. Awesome ′′ 👍🏻 (Review by Mr. B B sKeTb sKeTb LL)
.
′′ It's a good idea that buying a pork level is not easy. You will have people in queue. If you come late, you may eat chicken level instead because the pork is gone since the evening. Because there are plenty of people waiting for you to buy. This is a ' grilled pork '. This is selling for 10 baht. Pork and pork is 50-50 % cool. You must try ′′ 🤤 (Review by Mr. Mhamwanida)
.
′′ Pork level, grilled pork that every kid needs to know. ✨ Been in Nakhon Pathom for many years. I just heard the great trend of Moo Vale. When I studied at Thap Kaew, 10 years ago in the middle of the year. I'm sorry. There is no convenience store at the library yet. Freshy girls. Almost everyone except kids who walk to study. They are usually in the dormitory.
.
When girls night hunger and persistence of men, legends, Pigs, Vale comes to be known that if any guy buys a pork level, it means sure. 🥰 Pigs at the shop are very cheap. There are pigs. Grilled chicken wings, pork liver, stick to them. Eat with the sauce. Very good. The seller is friendly. ′′ ❤ (Review by Mr Mint)
.
I have to tell you that if you look at the front of the grilled pork restaurant, it may be normal. But if you try, I guarantee that it's impressed because there are plenty of people who claim it. If you arrive in Nakhon Pathom, you won't try it. I wouldn't try It's become a legend of Thap Kaew. Which guy is waiting for you to pay attention to girls because the queue is really longer than an hour. 💥 By uncle's shop, I moved from behind the level. It's not difficult to find from the shop. In front of the university. Silpakon is heading to the statue. Red light. We will meet with uncle's shop. 🥰
.
🍴: Pigwell
📍: Nakhon Pathom Ratchaburi Road (moving to Odian market parking lot)
⏰: Open everyday 19.00-22.00 hrs.
⭐️: See more locations and reviews 👉🏻 https://www.wongnai.com/restaurants/125899VG
________________________
#Wongnai Find restaurant information from around the country and share reviews on Wongnai app ▶️ Free download here >> http://bit.ly/2U0bdnTranslated
i'm sorry about that แปลว่า 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
เรื่อง "เลขอารบิก คิดจากจำนวนมุม" กลับมาใช้กันใหม่อีกแล้วนะครับ .... เรื่องนี้ไม่จริงนะครับ มโนกันไปเองมากกว่า
"ตัวเลขอารบิก ไม่ได้คิดจากจำนวนมุม"
วันนี้คงมีหลายคนที่ได้รับฟอร์เวิร์ดรูปนี้มา อ้างว่าตามประวัติศาสตร์การคิดตัวเลขอารบิกที่เราใช้กันนั้น ตัวเลขแต่ละตัวสร้างขึ้นจาก "จำนวนของมุม" ภายในตัวเลข ใช้มาทั้งชีวิต ไม่เคยรู้เลย !? .... เสียใจด้วย มันไม่ใช่เรื่องจริงหรอกครับ
ตัวเลขในปัจจุบันที่เราเรียกว่า "เลขฮินดู-อารบิก" นั้น จริงๆ แล้วมาจากตัวอักขระอินเดียโบราณที่ใช้ในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ระหว่างช่วง 200ปีก่อนคริสตกาลจนถึงศตวรรษที่ 3 ปรากฏอยู่ในบันทึก Bakhshali ซึ่งมีชื่อเสียงมาก จากการที่เป็นบันทึกเก่าแก่ที่สุดทางด้านคณิตศาสตร์และแสดงให้เห็นถึงการใช้เลข 0 ศูนย์ ... ดูในรูปประกอบ จะเห็นถึงความคล้ายคลึงระหว่างตัวเลขโบราณนี้ (หรือเรียกว่า ตัวเลขพรามมิ Brahmi numerals) กับเลขอารบิกปัจจุบัน
หลังจากนั้น ลักษณะของตัวเลขก็วิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปอีกหลายศตวรรษ และแพร่กระจายไปถึงเปอร์เซียในยุคกลาง และกลุ่มชาวอาหรับได้นำเข้าไปเผยแพร่ในยุโรปในที่สุด โดยปรากฏในบันทึก Codex Vigilanus โดยผลงานของพระชาวคริสต์ในสเปนตอนเหนือ เมื่อปี ค.ศ. 881 ... ดูรูปประกอบ จะเห็นว่ายิ่งเหมือนตัวเลขอารบิกในปัจจุบันมากขึ้นอีก (แต่เค้าเขียนจาก ขวาไปซ้าย นะ) ซึ่งจะมีแค่เลข 4 กับ 5 ที่ดูต่างออกไปหน่อย
จากนั้น ตัวเลขฮินดู-อารบิกนี้ก็ได้ถูกปรับปรุงอีกครั้งในปี 1202 โดยผลงานของ Leonardo Fibonacci (คนที่คิดเรื่องลำดับฟิโบนัคชี่ นั่นแหล่ะ) โดยเอาระบบนี้มาใช้ในหนังสือ Liber Abaci (แปลว่า Book of Calculation) ของเค้าจนเป็นที่นิยมไปทั่วยุโรป
ตัวเลขอารบิกเป็นที่นิยมอย่างมากในยุโรป และในช่วงศตวรรษที่ 15 และ 16 ก็พบว่ามีการใช้กันทั่วไป รวมทั้งใช้เขียนบนหน้าปัดนาฬิกาด้วย ... ดังในรูปประกอบ (มาจากคู่มือที่ชื่อว่า Ms.Thott.290.2º เขียนโดย Hans Talhoffer ในปี 1459) ซึ่งเขียนวิธีการเรียงลำดับเลขทั้งหมดเอาไว้
เมื่อยุโรปผ่านยุคฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม หรือยุคเรเนสซอง (Renaissance) มีการศึกษาประวัติของเลขฮินดู-อารบิกเพิ่มเติม และพบว่านอกจากจะมีรากฐานมากจากเลขพรามมิโบราณ ยังได้รับอิทธิพลมาจากวิวัฒนาการของการจัดเรียงพิมพ์ตัวอักขระต่างๆ ในยุโรปสมัยนั้นด้วย ... ดังแผนภูมิเปรียบเทียบในภาพประกอบ ซึ่งจัดทำโดยนักประวัติศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Jean-Étienne Montcula พิมพ์ในหนังสือ Histoire de la Mathematique ในปี ค.ศ. 1757
จนมาถึงช่วงกลายศตวรรษที่ 18 นั่นเอง ที่ตัวเลขทั้งหมดที่นิยมใช้กันในยุโรปนั้น ได้เปลี่ยนมาเป็นแบบตัวเลขอารบิกในปัจจุบัน ... ซึ่งก็ชัดเจนว่า ไม่ได้เกี่ยวอะไรกับเรื่องจำนวนมุมภายในตัวเลขแต่อย่างไรครับ
ข้อมูลและภาพ จาก https://gizmodo.com/no-this-viral-image-does-not-explain-th…
-------------
สนใจหนังสือ "อ๋อ! มันเป็นอย่างนี้นี่เอง" ติดต่อสั่งซื้อได้ที่เว็บไซต์ สนพ. มติชน http://www.matichonbook.com/…/matichonb…/newbooks/-2997.html
"Arabic numbers don't think of the number of angles"
Today, there are many people who have received this forward. According to the history of the arbic numbers we use. Each number is made up of "the number" within the numbers. I have been used for their whole life. So!? I'm sorry. It's not true.
The current numbers we call "Hindu-Arabic" are actually from the ancient Indian cuddle characters used in mathematical calculation between 200 years before crystal to the 3th century. Appearing in Bakhshali record which is very famous from the oldest record in mathematics and shows the use of 0 zeros... See in the illustrations, it will see the similarity between this antique numbers (aka the numbers. Brahmi numerals) with current Arabic numbers
After that, the characteristics of the numbers changed centuries and spread to medieval Persians and Arabs were finally published in Europe. It appears in Codex Vigilanus by the work of Christians in Northern Spain in July. Prof. 881... Look at the illustrations, you will see that the more like the current Arabic numbers (but they write from right to left) which will only have number 4 and 5 that look different. Please.
Then this Hindu-Arabic number was renovated in 1202 by Leonaci's work of Leonaci (who thought about Fibonacci cuddle ci sequence) by using this system in liber. (It means book of calculation) is popular all over Europe.
Arabic numbers are highly popular in Europe and in the 15th and 16th centuries, it is found that they are commonly used as well as written on the watch dial... as in the illustration (from the Ms. Thott. 290.2º written by Hans Talhoffer in 1459) Writes how to sort out all numbers.
When Europe passed the era of art, culture or Renaissance), there was more study of Hindu-Arabic history and found that in addition to a lot of primmi numbers, it is also influenced by the evolution of printing. cuddle carabinieri, cuddle characters in Europe in those days... As a comparison chart in the illustration made by a French historian-étienne montcula, printed in the book in the book of Histoire de la Mathemathematique in July. Prof. 1757
Until the 18th century, that all the popular numbers in Europe have changed to the current Arabic numbers... which clearly has nothing to do with the number of corners within the numbers.
Info and pics from https://gizmodo.com/no-this-viral-image-does-not-explain-the-history-of-ar-1719306568
-------------
Interested in the book " oh! This is how it is " Contact to order at the website. Matichon http://www.matichonbook.com/index.php/matichonbook/newbooks/-2997.htmlTranslated
i'm sorry about that แปลว่า 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳解答
"ตัวเลขอารบิก ไม่ได้คิดจากจำนวนมุม"
วันนี้คงมีหลายคนที่ได้รับฟอร์เวิร์ดรูปนี้มา อ้างว่าตามประวัติศาสตร์การคิดตัวเลขอารบิกที่เราใช้กันนั้น ตัวเลขแต่ละตัวสร้างขึ้นจาก "จำนวนของมุม" ภายในตัวเลข ใช้มาทั้งชีวิต ไม่เคยรู้เลย !? .... เสียใจด้วย มันไม่ใช่เรื่องจริงหรอกครับ
ตัวเลขในปัจจุบันที่เราเรียกว่า "เลขฮินดู-อารบิก" นั้น จริงๆ แล้วมาจากตัวอักขระอินเดียโบราณที่ใช้ในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ระหว่างช่วง 200ปีก่อนคริสตกาลจนถึงศตวรรษที่ 3 ปรากฏอยู่ในบันทึก Bakhshali ซึ่งมีชื่อเสียงมาก จากการที่เป็นบันทึกเก่าแก่ที่สุดทางด้านคณิตศาสตร์และแสดงให้เห็นถึงการใช้เลข 0 ศูนย์ ... ดูในรูปประกอบ จะเห็นถึงความคล้ายคลึงระหว่างตัวเลขโบราณนี้ (หรือเรียกว่า ตัวเลขพรามมิ Brahmi numerals) กับเลขอารบิกปัจจุบัน
หลังจากนั้น ลักษณะของตัวเลขก็วิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปอีกหลายศตวรรษ และแพร่กระจายไปถึงเปอร์เซียในยุคกลาง และกลุ่มชาวอาหรับได้นำเข้าไปเผยแพร่ในยุโรปในที่สุด โดยปรากฏในบันทึก Codex Vigilanus โดยผลงานของพระชาวคริสต์ในสเปนตอนเหนือ เมื่อปี ค.ศ. 881 ... ดูรูปประกอบ จะเห็นว่ายิ่งเหมือนตัวเลขอารบิกในปัจจุบันมากขึ้นอีก (แต่เค้าเขียนจาก ขวาไปซ้าย นะ) ซึ่งจะมีแค่เลข 4 กับ 5 ที่ดูต่างออกไปหน่อย
จากนั้น ตัวเลขฮินดู-อารบิกนี้ก็ได้ถูกปรับปรุงอีกครั้งในปี 1202 โดยผลงานของ Leonardo Fibonacci (คนที่คิดเรื่องลำดับฟิโบนัคชี่ นั่นแหล่ะ) โดยเอาระบบนี้มาใช้ในหนังสือ Liber Abaci (แปลว่า Book of Calculation) ของเค้าจนเป็นที่นิยมไปทั่วยุโรป
ตัวเลขอารบิกเป็นที่นิยมอย่างมากในยุโรป และในช่วงศตวรรษที่ 15 และ 16 ก็พบว่ามีการใช้กันทั่วไป รวมทั้งใช้เขียนบนหน้าปัดนาฬิกาด้วย ... ดังในรูปประกอบ (มาจากคู่มือที่ชื่อว่า Ms.Thott.290.2º เขียนโดย Hans Talhoffer ในปี 1459) ซึ่งเขียนวิธีการเรียงลำดับเลขทั้งหมดเอาไว้
เมื่อยุโรปผ่านยุคฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม หรือยุคเรเนสซอง (Renaissance) มีการศึกษาประวัติของเลขฮินดู-อารบิกเพิ่มเติม และพบว่านอกจากจะมีรากฐานมากจากเลขพรามมิโบราณ ยังได้รับอิทธิพลมาจากวิวัฒนาการของการจัดเรียงพิมพ์ตัวอักขระต่างๆ ในยุโรปสมัยนั้นด้วย ... ดังแผนภูมิเปรียบเทียบในภาพประกอบ ซึ่งจัดทำโดยนักประวัติศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Jean-Étienne Montcula พิมพ์ในหนังสือ Histoire de la Mathematique ในปี ค.ศ. 1757
จนมาถึงช่วงกลายศตวรรษที่ 18 นั่นเอง ที่ตัวเลขทั้งหมดที่นิยมใช้กันในยุโรปนั้น ได้เปลี่ยนมาเป็นแบบตัวเลขอารบิกในปัจจุบัน ... ซึ่งก็ชัดเจนว่า ไม่ได้เกี่ยวอะไรกับเรื่องจำนวนมุมภายในตัวเลขแต่อย่างไรครับ
ข้อมูลและภาพ จาก https://gizmodo.com/no-this-viral-image-does-not-explain-th…
-------------
สนใจหนังสือ "อ๋อ! มันเป็นอย่างนี้นี่เอง" ติดต่อสั่งซื้อได้ที่เว็บไซต์ สนพ. มติชน http://www.matichonbook.com/…/matichonb…/newbooks/-2997.html
"Arabic numbers don't think of the number of angles"
Today, there are many people who have received this forward. According to the history of the arbic numbers we use. Each number is made up of "the number" within the numbers. I have been used for their whole life. So!? I'm sorry. It's not true.
The current numbers we call "Hindu-Arabic" are actually from the ancient Indian cuddle characters used in mathematical calculation between 200 years before crystal to the 3th century. Appearing in Bakhshali record which is very famous from the oldest record in mathematics and shows the use of 0 zeros... See in the illustrations, it will see the similarity between this antique numbers (aka the numbers. Brahmi numerals) with current Arabic numbers
After that, the characteristics of the numbers changed centuries and spread to medieval Persians and Arabs were finally published in Europe. It appears in Codex Vigilanus by the work of Christians in Northern Spain in July. Prof. 881... Look at the illustrations, you will see that the more like the current Arabic numbers (but they write from right to left) which will only have number 4 and 5 that look different. Please.
Then this Hindu-Arabic number was renovated in 1202 by Leonaci's work of Leonaci (who thought about Fibonacci cuddle ci sequence) by using this system in liber. (It means book of calculation) is popular all over Europe.
Arabic numbers are highly popular in Europe and in the 15th and 16th centuries, it is found that they are commonly used as well as written on the watch dial... as in the illustration (from the Ms. Thott. 290.2º written by Hans Talhoffer in 1459) Writes how to sort out all numbers.
When Europe passed the era of art, culture or Renaissance), there was more study of Hindu-Arabic history and found that in addition to a lot of primmi numbers, it is also influenced by the evolution of printing. cuddle carabinieri, cuddle characters in Europe in those days... As a comparison chart in the illustration made by a French historian-étienne montcula, printed in the book in the book of Histoire de la Mathemathematique in July. Prof. 1757
Until the 18th century, that all the popular numbers in Europe have changed to the current Arabic numbers... which clearly has nothing to do with the number of corners within the numbers.
Info and pics from https://gizmodo.com/no-this-viral-image-does-not-explain-the-history-of-ar-1719306568
-------------
Interested in the book " oh! This is how it is " Contact to order at the website. Matichon http://www.matichonbook.com/index.php/matichonbook/newbooks/-2997.htmlTranslated