ประวัติศาสตร์บอกอะไรกับเรา กับ การขึ้นดอกเบี้ยในอดีตที่ผ่านมา..
สิ่งที่นักลงทุนทั่วโลกต่างกังวลกันในตอนนี้ก็คือ อันตราดอกเบี้ย ว่าจะขึ้นหรือไม่ ซึ่งส่งผลให้ตลาดหุ้นเกิดความผันผวนค่อนข้างสูงในช่วงที่ผ่านๆมา
เเล้วในอดีตการขึ้นดอกเบี้ยส่งผลกระทบต่อตลาดหุ้นอย่างไร วันนี้เราจะมาสรุปให้ฟัง....
โดยปกติเเล้ว อัตราดอกเบี้ย ที่ FED หรือ ธนาคารกลางของสหรัฐอยากให้เป็น ก็คือ 2-5% ซึ่งบ่งบอกถึงสภาวะเศรษฐกิจที่เเข็งเเรง
เเต่นั้นก็มีข้อยกเว้น ดังเช่น ที่เห็นกันมาตั้งเเต่ปี 2009 จนปัจจุบัน ที่ อัตราดอกเบี้ย ต่ำในระดับ 0.25% เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ให้ต้นทุนทางการเงินต่ำลง เพราะเเบงก์ ก็จะปล่อยเงินกู้ถูกลง คนก็จะสามารถนำเงินมาขยายธุรกิจได้ (ในสถานการณ์ปกติ) เเต่ตอนนี้กลับมีปัจจัยอย่างการพิมพ์เงิน เเละ การลดดอกเบี้ย เศรษฐกิจก็ควรจะดีเเล้วสิ?!
ผลลัพธ์กลับไม่เป็นเช่นนั้น เพราะในปีที่เเล้ว เกิดวิกฤติโรคระบาดอย่าง โควิด ที่ทำให้ เงินหยุดหมุน
จากสมการ MV = PQ ....
โดย M=ปริมาณเงิน
ในขณะที่ V = ความเร็วของเงิน
P = ระดับราคาสินค้าทั่วไป
Q = ปริมาณสินค้าเเละบริการ
เมื่อ เศรษฐกิจหยุดหมุน V ก็จะลด เพื่อการรักษา ระดับ ทางการเงินให้เท่าเดิม จึงต้องพิมพ์เงินเข้ามา เเต่เมื่อ เศรษฐกิจกลับมาวิ่ง เเละ ปริมาณเงินอยู่ในระบบสูงขึ้น จะทำให้ P หรือ ระดับราคาสินค้าขึ้น (ถ้า Q ปริมาณสินค้าคงเดิม ) เเต่เพราะปัจจัย ที่กำลังผลิตก็ลดไป ในปีที่เเล้ว Q ที่ลด จึงทำให้ P ยิ่งพุ่ง จนที่เราเห็นคือ สินค้าโภคภัณฑ์ ทำราคาสูงสุด ในรอบ super cycle ( เเถมการลดดอกเบี้ยเเละการพิมพ์เงินที่ทำมาตั้งเเต่ปี 2009 ก็จะทำให้ money supply เยอะอยู่เเล้ว)
ในปีที่เเล้วนักลงทุนจึงเริ่มกังวลว่า เมื่อ เป็นเช่นนั้น เงินเฟ้อย่อมต้องตามมา เเละ อัตราดอกเบี้ยต้องขึ้นเเน่เพื่อดึงเงินจากระบบคืน เเละ ก็เป็นเช่นนั้นจริงๆ เงินเฟ้อสูงระดับ 4% เเละ ทำให้เเนวโน้มการขึ้นดอกเบี้ยมีโอกาสสูงขึ้น
เราจึงได้นำเหตุการณ์ในอดีตมาให้ดูว่า การขึ้นดอกเบี้ย น่ากลัวขนาดนั้นจริงหรือ.....
ในปี 1980 FED ได้เคยขึ้นดอกเบี้ยไปจนถึงระดับ 20% เพื่อเอาชนะ เงินเฟ้อ ระดับ 2 หลัก
เพราะในปี 1973 ประธานาธิบดี ริชาร์ด นิกซัน ได้นำเงินดอลล่าร์ออกจากการค้ำด้วยทองคำ ทำให้ เงินเฟ้อจาก 4.7% ไปเเตะ 12.3% ในปี 1974 FED จึงเพิ่มดอกเบี้ยจาก 7% ไปสู่ 11%
ในปี 1979 เงินเฟ้อ ไปพีคถึง 13.3% จนทำให้ ปี 1980 ต้องขึ้นดอกเบี้ยไปที่ระดับ 20% !! เเละ ใช้เวลาอีกประมาณ 2 ปีก่อนระดับเงินเฟ้อจะค่อยๆลดต่ำลง เเละ ลดดอกเบี้ยตามลงมา ก่อนที่ GDP จะเริ่มกลับมาเติบโตอีกครั้ง
ซึ่งจากขึ้นดอกเบี้ยสูงๆ ในเเต่ละครั้งย่อมนำให้เกิดผลของ “เศรษฐกิจถดถอย” ตามมา เพราะเเรงจูงใจในการฝากเงินสูงขึ้น ในขณะที่ ภาระในการเงินสูง คนก็จะไม่อยากจับจ่ายใช้สอย ทำให้กำไรของบริษัทต่างๆ ก็จะลดลง ส่งผลเป็นทอดๆ
ดังนั้น นายธนาคาร อย่าง เจโรม ก็รู้ข้อเหล่านี้ดี เขาจึงพยายามทุกทาง ไม่ให้มีการขึ้นดอกเบี้ยไปสู่ระดับสูง เพราะ จะมีผลกระทบหลายอย่างตามมา นอกจากนี้ เศรษฐกิจพื้นเดิมก็ไม่ค่อยจะดีอยู่เเล้ว การเพิ่มดอกเบี้ย จะเป็นการ ซ้ำเติมสถานการณ์ไปอีก
เเต่ทุกการกระทำย่อมมีผลลัพธ์ของมัน ปัจจุบันการฝืนความตายอย่างการพิมพ์เงิน ตามหลักเศรษฐศาสตร์ยุคใหม่เเบบเคนเซี่ยน ย่อมส่งผลลัพธ์สู่อีกทางหนึ่ง เราทักคนคงต้องมาตามดูว่า FED จะมีท่าทีอย่างไรต่อไป
........................................
ติดตามข้อมูล เศรษฐกิจ การลงทุนในต่างประเทศ ในไทย ได้ที่คุยการเงินกับที
........................................
Ref :
When Will Interest Rates Go Up?
https://www.thebalance.com/when-will-interest-rates-go-up-3306125
What Does Money Velocity Tell Us about Low Inflation in the U.S.?
https://www.stlouisfed.org/on-the-economy/2014/september/what-does-money-velocity-tell-us-about-low-inflation-in-the-us
money velocity 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
สรุป 5 วิธีประเมินมูลค่า คริปโทเคอร์เรนซี /โดย ลงทุนแมน
เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2564 บิตคอยน์ได้ทำราคาสูงสุดเป็นประวัติการณ์ที่ 1.9 ล้านบาท ต่อเหรียญ
คิดเป็นมูลค่าตลาดรวมถึง 35.8 ล้านล้านบาท และถือเป็นสินทรัพย์ที่มีมูลค่าสูงที่สุดอันดับที่ 8 บนโลก
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา หลายคนก็ได้ตั้งคำถามว่ามูลค่าของบิตคอยน์ ถึงจุดสูงสุดแล้วหรือยัง และเราจะประเมินมูลค่าของสินทรัพย์นี้อย่างไร ?
และเมื่อไม่นานมานี้ CFA หรือสถาบันที่รับรองคุณวุฒิด้านวิชาชีพนักการเงินทั่วโลกได้ตีพิมพ์เอกสารที่กล่าวถึงเกี่ยวกับคริปโทเคอร์เรนซี ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าของคริปโทเคอร์เรนซีอยู่ด้วย
โดยวิธีการประเมินมูลค่าดังกล่าวเป็นการรวบรวมโดยคุณ Hougan และ คุณ Lawant ที่อยู่ในเอกสารเผยแพร่ของทาง CFA ซึ่งไม่ได้เป็นความเห็นจากสถาบันอย่างเป็นทางการ
วันนี้ เรามาดูกันว่ามีแนวทางประเมิน
มูลค่าสินทรัพย์ดิจิทัลเหล่านี้ อย่างไร ?
ลงทุนแมนจะสรุปให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ก่อนหน้านี้ การประเมินมูลค่าคริปโทเคอร์เรนซีถือเป็นเรื่องที่ซับซ้อน
เนื่องจากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่ได้สร้างกระแสเงินสดขึ้นมา
จึงทำให้ยากต่อการประเมินมูลค่าอย่างมาก
อย่างไรก็ตาม CFA ก็ได้ระบุว่ามี 5 แนวทางในการประเมินมูลค่าคริปโทเคอร์เรนซี
ซึ่งก็ต้องบอกว่าแต่ละแนวทางมีสมมติฐานและข้อจำกัดที่แตกต่างกัน
เรามาเริ่มกันที่แนวทางที่ 1 เมื่อเรามองว่า “คริปโทเคอร์เรนซีเข้ามาแทนที่ทองคำ”
วิธีนี้จะเป็นการประเมินมูลค่าในลักษณะของการเปรียบเทียบ
ระหว่างมูลค่าตลาดของสกุลเงินคริปโทเคอร์เรนซี กับมูลค่าของทองคำ
โดยเราต้องคาดการณ์ว่าคริปโทเคอร์เรนซีนั้นจะมาแทนทองคำเป็นสัดส่วนเท่าใด
เช่น หากเราคาดการณ์ว่าบิตคอยน์จะมาแทนที่ทองคำได้ราว 10%
ปัจจุบัน ทองคำ มีมูลค่าตลาด 342 ล้านล้านบาท
บิตคอยน์ มีมูลค่าตลาด 32 ล้านล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 9.4% เมื่อเทียบกับมูลค่าตลาดทองคำ ก็จะดูสมเหตุสมผลกับที่เราคาดการณ์
แต่สำหรับใครที่คิดว่าบิตคอยน์จะมาแทนที่ทองคำได้ในสัดส่วน 5%
บิตคอยน์ ก็จะถือว่ามีมูลค่าที่สูงเกินไปแล้ว นั่นเอง
แนวทางที่ 2 เมื่อเรามองว่า “คริปโทเคอร์เรนซีเข้ามาแทนที่สกุลเงินทั่วไป”
แนวทางนี้จะเป็นวิธีเดียวกับการประเมินมูลค่าของเงินตราทั่วไปแบบดั้งเดิม
ที่ประเมินจากปริมาณและรอบหมุนของเงินในระบบ
โดยเราจะมี 4 ตัวแปรหลักที่สำคัญ แบ่งออกเป็น
- Money Supply (M) คือ มูลค่าตลาดของคริปโทเคอร์เรนซีที่เราสนใจ
- Velocity of Money (V) คือ ความถี่ของการใช้คริปโทเคอร์เรนซีในรอบ 1 ปี
- Price Level (P) คือ มูลค่าเฉลี่ยของธุรกรรมการใช้คริปโทเคอร์เรนซีที่เกิดขึ้น
- Quantity of Goods and Services (Q) คือ จำนวนธุรกรรมที่เกิดขึ้น
โดยสมการที่ได้ก็อยู่ในรูปแบบของ M x V = P x Q
ยกตัวอย่างเช่น หากบิตคอยน์มีปริมาณธุรกรรม 1 แสนล้านครั้ง ต่อปี (Q)
ในขณะที่มีการใช้จ่ายด้วยบิตคอยน์ราว 1,000 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อธุรกรรม (P)
หมายความว่า P x Q หรือ มูลค่าธุรกรรมทั้งหมดจะมีมูลค่าราว 100 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี
ทีนี้ หากว่าบิตคอยน์ ถูกเปลี่ยนมือ (V) เฉลี่ยราว 5 ครั้ง ต่อปี
เราก็สามารถคำนวณมูลค่าตลาดของคริปโทเคอร์เรนซี หรือ M ที่ควรจะเป็นได้ โดย M = P x Q / V
ซึ่งเท่ากับ 20 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ นั่นเอง
หลังจากนั้น เราก็สามารถนำมูลค่าตลาดคริปโทเคอร์เรนซีที่คำนวณได้
มาเทียบได้ว่าสูงหรือต่ำกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบันมากน้อยขนาดไหน
แนวทางที่ 3 เมื่อเรามองว่า “คริปโทเคอร์เรนซีเป็นระบบเครือข่าย”
ปกติวิธีนี้จะนิยมใช้วัดมูลค่าสำหรับกลุ่มธุรกิจแพลตฟอร์มเครือข่ายสังคมออนไลน์
เช่น Facebook, Instagram หรือ Twitter
โดยมูลค่าของบริษัทเหล่านี้จะเพิ่มสูงขึ้น ตามจำนวนผู้ใช้งานที่เยอะขึ้น
ในขณะที่ หากแพลตฟอร์มไม่มีผู้ใช้งาน บริษัทก็จะมีมูลค่าเท่ากับ “0”
โดยสมการของการประเมินมูลค่าเบื้องต้น
ก็คือ นำจำนวนผู้ใช้งานบนคริปโทเคอร์เรนซียกกำลังด้วย 2
อย่างไรก็ตาม ทาง CFA ก็ได้ระบุว่ามีข้อจำกัดเรื่องคุณภาพของผู้ใช้งาน
เพราะการได้มาของผู้ใช้งานในบางครั้ง ไม่ได้เกิดขึ้นจากการสร้างเครือข่าย
แต่เกิดมาจากการโฆษณา จึงทำให้วิธีนี้ ไม่ถูกนำมาพูดถึงมากนัก
แนวทางที่ 4 เมื่อเรามองว่า “คริปโทเคอร์เรนซีเป็นเสมือนสินค้าโภคภัณฑ์”
สินค้าโภคภัณฑ์คือ สินค้าที่มีลักษณะเหมือนกันทั่วโลก
ยกตัวอย่าง เช่น น้ำมันดิบ, ยางพารา, ถ่านหิน, ข้าว, น้ำตาล
วิธีการประเมินมูลค่าของสินค้าโภคภัณฑ์
จะคำนวณจากต้นทุนในการผลิตเพื่อให้ได้สินค้า
โดยต้นทุนหลักสำหรับคริปโทเคอร์เรนซี ก็คือ ค่าไฟฟ้า ค่าเซิร์ฟเวอร์ และค่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการขุด
ซึ่งมูลค่าคริปโทเคอร์เรนซีที่ควรจะเป็นไม่ควรต่ำกว่าต้นทุนทั้งหมดนี้
แนวทางที่ 5 เมื่อเรามองว่า “คริปโทเคอร์เรนซีเป็นสินทรัพย์ที่มีจำนวนจำกัด”
วิธีนี้จะคำนวณด้วยโมเดลที่เรียกว่า Stock-to-Flow
ซึ่งวิธีดังกล่าวมักจะถูกนำมาคำนวณหามูลค่าของสินทรัพย์ที่หายาก เช่น ทองคำและเงิน
ทั้งนี้ Stock-to-Flow ถูกออกแบบมาใช้กับบิตคอยน์โดยเฉพาะ เนื่องจากบิตคอยน์มีลักษณะคล้ายกันกับทองคำและเงิน คือ มีอยู่อย่างจำกัด และมีความสามารถในการกักเก็บความมั่งคั่งเอาไว้ได้
โดยโมเดล Stock-to-Flow จะเป็นการเทียบสัดส่วนระหว่าง
มูลค่าบิตคอยน์ที่มีอยู่ทั้งหมดบนโลก หารด้วยมูลค่าที่ผลิตขึ้นใหม่ได้ในแต่ละปี
ซึ่งแน่นอนว่าในแต่ละปี มูลค่าของบิตคอยน์ทั้งหมดบนโลกจะเพิ่มขึ้น
ในขณะที่บิตคอยน์ก็จะผลิตยากขึ้นเพราะในทุก ๆ สี่ปีจะเกิดกระบวนการ Halving
หรือการลดผลตอบแทนจากการผลิตบิตคอยน์ลงครึ่งหนึ่ง
อีกความหมายหนึ่งก็คือ ขุดได้ยากขึ้น นั่นเอง
นั่นจึงทำให้การประเมินมูลค่าบิตคอยน์ด้วย Stock-to-Flow จะมีลักษณะเป็นเทรนด์ขาขึ้นตลอดเวลา
ซึ่ง CFA ก็ได้ระบุว่าโมเดลนี้เป็นเพียงหนึ่งในแนวทางประเมินมูลค่า แต่ไม่ได้เห็นด้วยกับวิธีนี้ เพราะดูเหมือนว่าการเกิดขึ้นที่น้อยลงของบิตคอยน์ได้ถูกกำหนดไว้อย่างตายตัวแล้ว ซึ่งถ้าใช้วิธีนี้ในการประเมินมูลค่าก็จะไม่มีวันที่มูลค่าลดลงเลย มีแต่จะเพิ่มขึ้นไปตลอดกาล
ซึ่งไม่สมเหตุสมผลเหมือนวิธีอื่น ที่มูลค่าที่เหมาะสมจะขึ้นลงตามปัจจัยอื่น ๆ ด้วย
ถึงตรงนี้ เราก็คงพอจะรู้แล้วว่ามีวิธีอะไรบ้าง
ที่เราจะนำมาใช้เพื่อหามูลค่าของคริปโทเคอร์เรนซี
แม้ว่าจะมีแนวทางการประเมินมูลค่าคริปโทเคอร์เรนซีที่หลากหลาย
แต่ตอนนี้ก็ต้องยอมรับว่ายังไม่มีโมเดลไหนที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย
อย่างไรก็ตาม แนวทางทั้งหมดที่กล่าวมาก็ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญสำหรับการประเมินมูลค่า
เพราะถ้าหากเราไม่รู้มูลค่าที่เหมาะสมของสินทรัพย์ที่จะลงทุนเลย
การซื้อครั้งนั้น ก็อาจจะเรียกว่าเป็นการเก็งกำไร มากกว่าการลงทุน..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://coinmarketcap.com/currencies/บิตคอยน์/
-https://www.cfainstitute.org/-/media/documents/article/rf-brief/rfbr-cryptoassets.ashx
-https://saylordotorg.github.io/text_developing-new-products-and-services/s04-12-there-is-power-in-numbers-netw.html
money velocity 在 王大師 Facebook 的最佳解答
今晚直播目錄出爐囉~有趣,隨著萊豬過關後,那神秘的蓋台國家隊,就消失惹耶~
4:19 Part One 萊豬過了,紐機師也不重要了
-隨著機師的神救援,國民黨立委可順利縮減抗議
-等同無效抗爭,直接讓民進黨碾壓,這其實才符合下一個執政黨利益
-然後機師被推到第四版;沒人關心了
-萊豬再度回到頭版頭,反正已經過了;萊豬不怕開水燙!
-所以妳還以為紐機師的新聞為真?在CIA稱cover story,客製化的假議題,用來蓋過真議題;
-也就是萊豬與勞動基金越爆越大!
17:55 PArt Two 被蓋過的勞動基金
-今天又多了群益投信遭殃
-背後的寶佳資產水更深
-陳冲與寶佳執行長唐楚烈關係緊密,為唐推薦人
-藍綠大咖都有染指
-也代表台灣勞工退休金被政府系統性掏空,所以要蓋過
-然後媒體一直提「大到不能倒」議題,第一銀入列
-是不是在暗示濕兒的大重整啊?但eID聽說竹科人不想測試
36:07 Part Three 國際政經議題
-真脫歐了嗎?
-目前只來到行政部門,還需:歐盟27國代表、歐洲議會,以及英國國會的三方同意
-記住,是歐盟27國都要同意喔,然後英國工黨部份抵死不從
-一直撐到年底才開會,誰知道發生何事?
-還記得台灣的服貿嗎?一樣行政部門談,然後....就沒有然後惹!
-美元全球外匯存底占比連兩季下滑 準備貨幣地位再受質疑
- 3 季在全球外匯存底的占比下降到 60.4%
-美元今年來貶值 6.4%,是 2017 年來最差表現
-主要都是老共在拋售,來到我的「後美元霸權結構調整」預測
51:56 PArt Four 人類火星夢與秘密太空計畫
-馬斯克的太空移民夢;來自德州的試飛
-有趣,tesla為川普貿易戰的實質獲利者;川又在建制太空部隊;到底那邊有啥啊?
你斗內、我回答:
1:02:19 感謝YT斗內大德朱家億問:新台幣會被美國被列入匯率操控國嗎?
1:05:00 感謝YT斗內大德李道揚說:大推大師2011年文章:美國債務問題並無市場與共和黨所稱的嚴重,根據CIA與歐盟Eurostat的資料,其債務佔GDP比為58.9%。跟許多歐洲國家、甚至日本相比較低。因此,美國大可在債務上限上調後,調升富人稅,再採取財政措施,推動大量政府建案,...未來將往何處去,端看主政者是否僱用大師而定!!
1:07:42 新台幣要多少才合理,以外匯存底規模而定
感謝YT斗內大德Rocky You
1:17:45 ***(這部份是亮點) 感謝斗內大德LeonardKo問:財經陰謀論Youtuber+Greg+Mannarino+說新冠疫情目的之一是美國聯準會想藉此+"Slow+down+the+money+velocity",大師是否認同?能否解釋這理論?謝謝
-沒看過,如果現在接到這訊息,可否貼在下面,方便我瞭解
-剛剛看,他怎越來越像Zombie
-Slow+down+the+money+velocity這理論,要看你的降低翻轉率的目的為何
-我沒看,但我認為老大哥要.....
1:34:00 感謝斗內大德芽問說:佩服大師毅力宛如梅花越冷越開花,大師越卡越旺盛感是“反脆弱”最佳示範!幫八子們把用看似不相關的社會事件,拼出有意義大藍圖。八子們變成無辜參與者,請問如何化解這種共業?
-靜坐、修行、大量閱讀;培養覺知
1:43:35 感謝斗內大德J問:濕兒今天應該會談英國脫歐,來點不一樣的問題轉換心情,大濕認為以華人的民族性,是適合歐美式民主,還是一個集權式的中央政府?
-我的偏好是:左派(大政府)經濟、右派(少干預)政府
-但華人似乎愛:右派(少干預)經濟、左派(大政府)政府
-結論:....
感謝YT斗內大德姜紀謙說:改抖素肉圓費,為了小王大濕的未來 ~~
1:49:22 感謝斗內大德小道說:大師讓我想起電影《獨立時代》A+Confucian+Confusion,片中的作家創作「儒者的困惑」乏人問津,是關於孔子回到他發明的儒教世界裡很受歡迎,後來他發覺原來這些人以為他的待人處世是裝的...
-沒看過,很有趣
-也有西方人說,如果耶穌回來,人們再度把他放在十字架上
-或者蓋台!
直播網址:https://youtu.be/waRTWUp5kuM
優質內容,需要您們的贊助!
贊助連結: https://p.ecpay.com.tw/B7CB5 (留言不可空格、分段)