Blue Zone สถานที่ๆคนอาศัยอยู่อายุยืนกันทุกคน
แนว Blue Zone คือแนวเขตพื้นที่ๆ ผู้คนที่อาศัยอยู่มีอายุเฉลี่ยที่มากกว่า 90 ปี และมีไม่น้อยที่อายุขัยทะลุเกิน 100 ปีขึ้นไป เป็นพื้นที่ๆคนในพื้นที่มีโรคประจำตัวเช่น ความดันโลหิต ไขมันในเลือด หรือโรคเรื้อรังต่างๆถือว่าต่ำกว่าพื้นที่อื่นๆของโลก ผมนำข้อมูลมาจากหนังสือเรื่อง Super Fuel ของ Dr.Macola ลองอ่านกันดูนะครับ
พื้นที่ Blue Zone ที่ระบุมีไว้ 5 สถานที่ดังนี้คือ
1.) เกาะโอกินาวา ประเทศญี่ปุ่น
2.) เกาะซาร์ดิเนีย (Sardinia) ประเทศอิตาลี
3.) โลมา ลินดา (Loma Linda) รัฐแคลิฟอเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา
4.) แหลมนิโคยา (Nicoya Peninsula) ประเทศคอสตาริกา
5.) อิคาเรีย (Ikaria) ประเทศกรีซ
ก่อนจะไปสู่ประเด็นอื่นๆ สิ่งที่ 5 คนในสังคมนี้มีเหมือนกันคือ พวกเขาไม่ค่อยสูบบุหรี่ มีกิจกรรมทางร่างกายค่อนข้างเยอะ ให้ความสำคัญกับครอบครัวและสังคมเป็นลำดับแรกๆ และสิ่งสุดคือ อาหารที่พวกเขากิน เขากินโปรตีนกันไม่มากในแต่ละวัน และที่สำคัญคือโปรตีนส่วนใหญ่ไม่ได้มาจากเนื้อสัตว์ครับ
โอกินาว่า (Okinawa) ทำไมคนที่นี่ถึงอายุเกิน 100 ปี
จากข้อมูลปี ค.ศ.2017 เกาะโอกินาวาแห่งญี่ปุ่นมีอัตราส่วนคนที่อายุเกิน 100 ปี ถึง 39.5 ต่อ 100,000 คน โดยผู้ชายมีอายุขัยเฉลี่ย 84 ปี และผู้หญิงมีอายุขัยเฉลี่ยพุ่งไปถึง 90 ปี (ค่าเฉลี่ยของโลกคือ 6.2:100,000)
โดยเมื่อเราไปลงดูอาหารของคนโอกินาวา จะพบว่าเป็นกลุ่มคนที่ทานพืชผักเยอะมาก โดยเฉพาะสารอาหารกลุ่มคาร์โบไฮเดรตนั้นมาจากพืชผักถึงราวๆ 80% (อีก 20% มาจากข้าว) โดยพืชผักที่ว่านั้นก็คือ มันเทศ (sweet potato) และกลุ่มพวกถั่วต่างๆ (legume) ซึ่งคาร์โบไฮเดรตพวกนี้มีใยอาหาร (fiber) ในสัดส่วนที่สูงทำให้อิ่มท้อง นอกจากนี้ยังมีสาร Anthocyanin ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระชั้นดีจำนวนมากครับ และเป็นผลจากพื้นที่ของเกาะโอกินาวาที่อยู่ในเขตกึ่งเขตร้อน (Subtropical) จึงส่งผลให้ปลูกมันเทศได้เกือบจะตลอดทั้งปีมาเป็นหลายศตวรรษแล้วครับ
ความแตกต่างที่สำคัญอย่างต่อมาของอาหารคนโอกินาวา คือ ปริมาณของเนื้อสัตว์ที่กินต่อวันนั้นถือว่าค่อนข้างน้อย (ในอดีตนั้นน้อยจนมาถึง 1% ของสัดส่วนพลังงานทั้งหมด และได้โปรตีนจากผักเกือบทั้งหมด จนอาจจะเรียกได้ว่าคนโอกินาวาเป็นมังสวิรัตก็ได้ครับ) และถ้าจะกินเนื้อสัตว์จริงๆ เช่น เนื้อหมู ก็จะเป็นหมูที่เลี้ยงไว้ตามทุ่ง (free range) หมูที่กินหญ้าตามธรรมชาติเป็นอาหาร ไม่ได้เป็นหมูที่อยู่ตามในระบบโรงเลี้ยงกินอาหารเม็ดจากโรงงานอุตสาหกรรม (ซึ่งเนื้อหมูที่เลี้ยงแบบตามทุ่ง จะมีสัดส่วนของกรดไขมันโอเมก้า-3 ที่สูงกว่า คือ มีไขมันดีมากกว่าโปรตีนทั่วไป)
เหนือขึ้นไปอีก ด้วยความที่อยู่ใกล้ทะเล คนโอกินาวาจึงกินสาหร่ายทะเล (seaweed) ที่เรียกว่า คมบุ Kombu เยอะมาก ซึ่งสาหร่ายทะเลเหล่านี้มีใยอาหารสูงมาก รวมถึง กรดไขมันโอเมก้า-3 คือ EPA และ DHA ในสัดส่วนที่สูงเช่นเดียวกัน ซึ่งเราไม่สามารถได้ง่ายๆตามอาหารทั่วไป
ทีนี้หลายๆคนก็คงจะสงสัยว่า กินโปรตีนน้อยขนาดนี้อยู่รอดมาได้อย่างไร ต้องย้อนไปดูว่าด้วยขนาดของรูปร่างคนโอกินาวาที่ไม่ได้สูงใหญ่เป็นทุนเดิม ถ้าเทียบกับตะวันตก ทำให้การความต้องการพลังงานขั้นต่ำจึงไม่ได้สูง และขนาดกล้ามเนื้อถือว่าไม่ได้เยอะ คนโอกินาวาจึงทานอาหารด้วยพลังงานเฉลี่ยเพียงราวๆ 1,900 กิโลแคลอรีในสัดส่วนของโปรตีนที่น้อย ซึ่งต่ำกว่าค่ามาตรฐานที่ราวๆ 2,000 กิโลแคลอรีขึ้นไป หากสังเกตุอาหารญี่ปุ่นจะเห็นว่าส่วนใหญ่จะมาเป็นถาดหรือถ้วยเล็กๆ อย่างไรก็ตามข้อมูลนี้ไม่สามารถนำไปเทียบกับคนที่ออกกำลังกายหรือเล่นกล้ามได้ แต่ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนอาหารสำหรับคนทั่วไปที่ไม่ได้เล่นกล้ามได้
แล้วปลาละ โอกินาวาเป็นหมู่เกาะตั้งอยู่กลางทะเล แต่ทำไมคนโอกินาวาถึงไม่ได้กินปลาเป็นอาหารหลัก ต้องมีคำถามนี้เกิดขึ้นอย่างแน่นอน เพราะคนญี่ปุ่นเป็นชาติที่กินปลาเยอะมาก ต้องย้อนกลับไปในอดีตที่โอกินาวาคือพื้นที่ของอาณาจักรริวกิว (Ryukyu Kingdom) ซึ่งไม่ใช่วัฒนธรรมแบบคนญีปุ่นมาตั้งแต่อดีต แต่กลับได้อิทธิพลด้านอาหารมาจากอาณาจักรจีนหรือจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมา ปลาที่อาศัยอยู่ในหมู่เกาะโอกินาวานั้นมีสายพันธุ์ที่ไม่หลากหลาย และด้วยอุณหภูมิที่สูงเกือบตลอดทั้งปี มีฤดูหนาวที่สั้น (และไม่ได้หนาวกว่ายอดดอยบ้านเราสักเท่าไร) การเก็บอาหารสดไว้ตั้งแต่อดีตมาจึงไม่ใช่ที่คนที่นี่ทำกัน และซาซิมิจึงไม่ใช่อาหารจานหลักนั่นเองครับ
สุดท้ายนี้ที่สำคัญ คนโอกินาวา มีวัฒนธรรมการกินที่เรียกว่า ฮารา ฮาชิ บู Hari Hachi Bu ที่หมายถึงว่า หยุดกินก่อนที่จะรู้สึกอิ่ม หรือกินให้ถึงจุดที่ไม่รู้สึกหิวอีก กินแค่ประมาณ 80% ของกระเพาะอาหารถ้าคิดง่ายๆ ถามว่าเราจะรู้ได้อย่างไรว่ากินมาถึง 80% แล้วก็ต้องบอกว่าคนโอกินาวาได้ฝึกฝนการกินแบบมีสติ (mindfulness eating) มากันหลายชั่วอายุคน ซึ่งคนแบบเราเองก็สามารถทำได้แต่ต้องฝึก
I am full ฉันอิ่มแล้ว กับ I am no longer hungry ฉันไม่หิวแล้ว
สองคนน้ำดูเหมือนจะคล้ายกัน แต่จริงๆ อาจจะไม่เหมือนกัน ผมขอฝากไว้ทิ้งท้ายครับ 😊 สำหรับอีก 4 สถานที่ขอเก็บไว้เขียนต่อในคราวต่อไปครับ
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過1萬的網紅translation,也在其Youtube影片中提到,#'91年にコナミ開発三部が開発、コナミが発売した、アクションアドベンチャーであり、SFC版でのがんばれゴエモンシリーズ第1弾。 シリーズ生誕5周年記念作品として制作された。 ゲームシステムはこれまでのシリーズを踏襲しつつ、従来の見下ろし型マップステージの他に、横スクロールの2Dアクションステージが...
ryukyu kingdom 在 Focus Taiwan Facebook 的最佳貼文
National Palace Museum (#NPM) announced
Tuesday a line-up of exhibitions at its museums in northern and
southern Taiwan throughout 2021, which include Chinese imperial
portraits and historical relics from the ancient #Ryukyu Kingdom.
https://focustaiwan.tw/culture/202101190032
ryukyu kingdom 在 VOP Facebook 的最佳解答
新刊出版 New issue out now!🤘🔥🔥🔥
Voices of Photography 攝影之聲
Issue 28 : #沖繩專題
The #Okinawa Issue
「亞洲當代攝影文化現場系列」是我們聚焦亞洲各地影像文化與創作實踐的系列計畫,嘗試透過亞際跨域連結與在地論述視野,拓展我們對於攝影在亞洲的實踐歷程、視覺經驗、文化及其論域的認識座標,並藉此作為影像歷史與認識論的持續省思。
「沖繩專題」是此系列的第二輯,特別邀請影像研究者暨策展人町田惠美與許芳慈共同擔任客座主編。本期採雙向閱讀編輯,集結文論與訪談,穿越沖繩糾結的被殖民史與帝國陰霾,在霸權的支配和抵抗的鬥爭之間,批判地觀看沖繩的影像,以及作為影像的沖繩。
幾世紀前,位於太平洋上的琉球列島尚未成為「沖繩」,而是存在著一個封建君主制的國度——琉球王國,後經日本薩摩藩的島津氏入侵與大日本帝國擴張,廢琉設藩遭到併吞殖民,於1879年以「沖繩縣」編入日本國家體系之內。在二戰的尾聲、1945年激烈的沖繩島戰役後,美國的佔領統治期長達二十七年,沖繩從此劃進冷戰年代的軍事戰略島鏈。即使至1972年美國將沖繩「返還」日本,在「日美同盟」的交換條件下,僅為日本本土面積千分之六的沖繩,卻佈建了整體駐日美軍逾七成的軍事設施與基地。對某部分的沖繩來說,「戰後」彷彿被無限延長,使這個亞熱帶之島,彌漫著由地緣政治與新帝國主義擊燃而仍未散去的煙硝。
本專題介紹國吉和夫、石川真生、比嘉豐光與石川龍一等沖繩的影像實踐者,追索他們的生命經驗與攝影的多重構成,以及其間複雜的政治性問題意識;同時透過評論者仲里效、岡本由希子、仲宗根香織與井上間從文的專文,將影像之於沖繩、之於歷史,由慣常對於「如何再現」的注意力,置放於「如何建構」的維度。從而提示了影像不僅僅是從殖民的情境中派生,同時也反饋到殖民的情境裡,需要加以細緻地解析。
在專題的製作期間,由全球疫情激化的國際角力波濤洶湧。與沖繩同列第一島鏈的台灣等地讀者,閱讀本專題,或許會因類似的歷史背景與政治局勢處境而更能與沖繩共感。而在沖繩所帶來的種種啟示中,我們也將意識到對於當下的世界正在發生的反抗——無論是以國家主義修辭掩飾的極權主義和種族主義,或是以經濟復甦為號召的資本主義巨靈回魂,除非我們投入更多行動與關注,否則任何國家的「強國夢」,都會是人類史上的惡夢一場。
▍關於本期 About | https://bit.ly/vop-28
The “A Study of Contemporary Photography in Asia” series is a serial project that focuses on imagery culture and creative practice in various regions of Asia. Through this connection and a view that pans across Asia, we are trying to expand our understanding of the process of practice, visual experience, culture and the identifying coordinates of photography in Asia, and using such knowledge as a continuous reflection of imagery history and epistemology.
Second in the series is the Okinawa issue that features Machida Megumi and Hsu Fang-Tze, both imagery researchers and curators, as our guest editors. This issue adopts a dual reading and editing process; a combination of essays and interviews brings readers through the complicated colonial history and the burden of empiricism on the island, taking a critical view of Okinawa’s imagery, and Okinawa as an imagined object while it struggled against hegemony.
Several centuries ago, there existed no “Okinawa”, but the Ryukyu Kingdom, a feudal kingdom in the Ryukyu Islands in the Pacific Ocean. After the invasion by the forces of the feudal domain of Satsuma, and subsequently by the Empire of Japan, the Ryukyu Islands were annexed and colonized, and in 1879, established as the Okinawa Prefecture. At the end of the Second World War in 1945, the U.S. forces occupied and ruled Okinawa for 27 years, sealing its fate in the strategic chain of islands in the Cold War era. Even when the U.S. forces “returned” Okinawa to Japan in 1972, the island, which only constitutes 0.6% of Japan’s total land area, houses more than 70% of the U.S.'s military facilities and bases stationed in the whole country under the US-Japan Security Alliance. To some parts of Okinawa, it almost feels like that the “post-war” era never ended, surrounding this subtropical island with a plume of smoke that rose from the collision between geopolitics and new imperialism.
In this series, we take a look at the layered composition of the life experiences and photography by Okinawan imagery practitioners Kuniyoshi Kazuo, Ishikawa Mao, Higa Toyomitsu and Ishikawa Ryuichi, as well as the complicated political consciousness that is birthed from this interaction. We also move our focus from the question of “how to represent” to “how to construct” the background of Okinawa and its history through the essays by Nakazato Isao, Okamoto Yukiko, Nakasone Kaori and Inoue Mayumo. Through such a redirection of focus, we see the need for a careful analysis as it shows us that imagery is not only generated from colonization, but also feeds back into the issue.
While putting this issue together, the world is being ravaged by the COVID-19 pandemic, intensifying power rivalries. We imagine that our readers in Taiwan and other areas, which belong in the first island chain alongside Okinawa, would feel even more relevance to the island (Okinawa), given our similar histories and political situations. As we feel inspired by Okinawa in many ways, we also become aware of the struggles that are happening around the world, whether it is one against totalitarianism and racism under the mask of nationalistic rhetoric, or the return of capitalism in the name of economic recovery. Until we put into action our words and resist, any dream of a “nation of great power” is but a nightmare for the history of humankind.
___
Voices of Photography 攝影之聲
www.vopmagazine.com
ryukyu kingdom 在 translation Youtube 的最佳解答
#'91年にコナミ開発三部が開発、コナミが発売した、アクションアドベンチャーであり、SFC版でのがんばれゴエモンシリーズ第1弾。
シリーズ生誕5周年記念作品として制作された。
ゲームシステムはこれまでのシリーズを踏襲しつつ、従来の見下ろし型マップステージの他に、横スクロールの2Dアクションステージが追加され、場面により見下ろし型視点と真横視点が切り替わる。このシステムは以降のシリーズにも受け継がれていく。
BGMはグラディウスIV(AC/'99年)等の上高さんと、パロディウスだ!(SFC/'92年)等の上原氏による共作で、シリーズを通しても純和風な時代劇の風情と旅情感はことさら色濃く出ている。
作曲:上高治巳氏、上原和彦氏
Manufacture: 1991.07.19(J),1992.02(U) konami / konami 3DP
Hardware: spc700
computer: super famicom / snes
composer: harumi uekou,kazuhiko uehara
-----------------------------------------------------------------------------------------
00:00:00 01.konami logo (コナミロゴ)
00:00:03 02.Title Fanfare (ファンファーレ)
00:00:09 03 Title ~ Theme of Goemon (ゴエモン音頭 ~タイトル)
00:02:24 04.Back Into Adventure (つづきから始める)
00:02:48 05.start (スタート)
00:02:51 06.Introduction ~ No Close Ups! (天下のボヨヨンコンビ ~ オープニング)
00:04:14 07.The Adventure Begins... (穴のむじな ~ マップ)
00:04:21 08.Oedo ~ Goemon's Home (はぐれ町旅情 ~ 江戸(1st.)明るい)
00:05:53 09.Invasion of Evil Spirits (霧のお化け町 ~ 江戸(1st.)暗い)
00:07:07 10.Horo Temple (謎のぼろぼろ寺 ~ 江戸(1st.)アクション)
00:07:45 11.Hidden Treasure! (棒と茄子 ~ ボーナス)
00:08:16 12.Mystical Ghost's Spooky Fanfare (お化け登場前)
00:08:26 13.It's a Monster!! (お化け出現 ~ お化け)
00:08:56 14.Shapeshifting Ninja Cat (猫がおんねん ~ 江戸(1st.)クリアデモ)
00:09:49 15.A Game of Trivia (いらっしゃい ~ 迷路小屋店頭)
00:10:21 16.Lost in the Labyrinth (ここはどこ? ~ 迷路小屋)
00:11:10 17.Buy Something or Get Out! (萬屋飯之助 ~萬屋,食べ物屋)
00:11:45 18.A Game of Skill (偽りの履歴書 ~ アルバイト小屋)
00:12:12 19.Old-Fashioned Challenger (なぐってぽん ~ もぐらたたき)
00:13:19 20.Painting Panic! (術使いの奥義 ~ 壁塗り)
00:14:35 21.Balancing Act (うきうきしようね ~ 鬼退治)
00:15:17 22.A Beautiful Woman's Home (あのこの花園)
00:16:06 23.An Ordinary Person's Home (おじゃましまんねやわ ~ 町人)
00:16:51 24.A Strange Man's Home (平次の部屋 ~ 番屋)
00:17:26 25.In Your Future, I see... (ジプシーじいさん ~ 占い)
00:18:42 26.Good Night... (張った張った ~ばくち小屋)
00:19:42 27.Travel in Style (大江戸トラベル ~ 旅行代理店)
00:20:36 28.Travelling to a New Land (やったぜちょんまげ! ~ ステージクリア)
00:20:52 29.Shikoku Island (ゴエモン一人旅 ~ 四国(2st.))
00:21:53 30.Rest and Relaxation (ファッショナブルソープ ~おふろや,宿屋店頭)
00:22:25 31.Good Night... (お休み…BABY ~ 宿屋)
00:23:25 32.Dance! Dance! (踊れ! ひょっとこ軍団 ~ 盆踊り)
00:24:05 33.Leader of the Ninja Cats (いなせな救世主 ~ 四国(2st.)クリアデモ)
00:25:08 34.Awaji Island (涙橋・浮世橋 ~ 淡路(3st.))
00:25:50 35.The Happiest Place in Japan! (どっこいからくりアイランド ~ カラクリアイランド)
00:26:29 36.How About a Burger? (店員の野望 ~ 競馬場店頭)
00:27:36 37.Place Your Bets! (馬の誘惑 ~ 競馬場セレクト)
00:28:01 38.Aaaaand They're Off! (コナミ賞争奪 ~ 競馬場)
00:28:31 39.Your Horse Won! (とったとった ~ 競馬賭け・的中)
00:28:39 40.Your Horse Lost... (競馬賭け・ハズレ)
00:28:43 41.Enter the Card Game (神経衰弱 ~ 絵合わせ店頭)
00:29:34 42.A Game of Memory (あのことランデブー ~ 絵合わせ)
00:30:32 43.Goemon and Ebisumaru Live! (解きあかされた真実 ~ なぞなぞ)
00:31:13 44.Master of Trivia! (賞金プレゼント ~ 賞金プレゼント)
00:31:19 45.A Game of Simple Enjoyment (ゲーマーアイランド ~ ゲームセンター)
00:32:32 46.Gradius ~ Vic Viper's Theme (グラディウスより空中戦)
00:33:22 47.Gradius ~ Space Shooting (グラディウスより1st.)
00:34:10 48.Gradius ~ Boss Battle (グラディウスよりボス)
00:34:28 49.Arcade-Style Fun! (ピンポンポン ~ ピンポン)
00:35:02 50.The Wall is Gone! (免許皆伝 ~ ピンポンクリア)
00:35:05 51.Town of Yamato (黒豆頂戴! ~ 大和(4st.))
00:36:17 52.You Need More Training! (浮気な師範代 ~ 道場)
00:36:49 53.Quiet Steam Bath (いい湯だよ ~ お風呂屋)
00:37:35 54.Headquarters of the Otafu Army (黒豆くいねえ ~ 大和(4st.)アクション)
00:38:51 55.Spunky Female Ninja (いいぞ!やえちゃん ~ 大和(4st.)クリア)
00:39:59 56.Mountain Village Iga (伊賀のいがぐり坊主 ~ 伊賀(5st.))
00:41:05 57.Castle of Ninjas (伊賀のカバメロ ~ 伊賀(5st.)アクション)
00:42:29 58.Falling! (落下)
00:42:42 59.Wisdom of the Ages (老人のため息 ~ 伊賀(5st.)クリア)
00:43:41 60.Kyoto ~ Ancient Capital of Japan (おいでやす ~ 京都(6st.))
00:44:48 61.Exciting Theatre (にいいちゃんよっていかへんか ~ 見せ物小屋店頭)
00:45:24 62.Sexy Strip Show! (夜の蝶 ~ エッチショータイム)
00:46:19 63.Ebisumaru's "Alluring" Dance (エビちゃん笑タイム ~ 見せ物小屋エビスショー)
00:46:47 64.A Helpful Fellow's Home (おじゃまします ~ 情報屋さん)
00:47:24 65.Keep an Adventure Log? (笑ってボサノバ ~ 旅日記屋)
00:48:23 66.A Game of Luck (松・竹・梅 ~ 宝くじ屋店頭)
00:49:04 67.May You Have Good Luck (からくりジャンボ ~ 宝くじ屋)
00:50:10 68.A Game of Chance (とろ~ ~ とろい)
00:51:11 69.Game Over! (大往生 ~ ゲームオーバー)
00:51:14 70.Back Into Adventure (入力してね ~ パスワード)
00:51:38 71.Tengu Mountains (おばんでやす ~ 京都(6st.)アクション)
00:53:01 72.Surprise Attack! (思春期のボス ~ 中ボス)
00:53:23 73.Izumo ~ Dragon Pond (男の手ぬぐい ~ 出雲(7st.))
00:54:59 74.The Truth Reflected (出雲の白鏡 ~ 出雲(7st.)クリア))
00:55:46 75.Ryukyu Kingdom (メンソーレ ~ 琉球(8st.))
00:57:41 76.King Ryukyu's Secret (燃える義賊たち ~ 琉球(8st.)アクション)
00:59:46 77.Returning to a Surprise (つかのまの幸せ ~ 琉球(8st.)クリア)
01:00:14 78.Ohedojyo Castle Dungeon (お江戸でSWING ~ 最終面(9st.))
01:01:01 79.Road to the Flying Castle (でーやもんどへっど ~ 最終面(9st.))
01:02:49 80.Yuki Rescued ~ The End (これにて一件落着 ~ エンディングデモ)
01:03:46 81.All's Well That Ends Well (港町ブルース ~ エンディングテロップ)
01:06:53 82.Pause! (ポーズ)
01:06:54 83.Koban Speaks (小判の会話音)
01:06:55 84.Unused Track (未使用)
-----------------------------------------------------------------------------------------
ryukyu kingdom 在 mimi33333333 Youtube 的最佳解答
#20 識名園は最終日の午後の世界遺産:ビーチ遊びの沖縄旅
http://miminome.blogspot.jp/2015/09/20.html
沖縄三日間の旅。
最終日の午後、識名園に行きました。
琉球王国のグスク及び関連遺産群のひとつ。
那覇からほど近い場所に有ります。
琉球王家の別邸。
池のある広い庭園が見どころです。
I went to Shikina-en.
UNESCO World Heritage Site.
It is one of the Gusuku Sites and Related Properties of the Kingdom of Ryukyu.
This is a villa of Ryukyu royal family.
Garden is wonderful.
ビデオカメラは SONY HDR-PJ790V を使って撮影しました。
60pでの撮影です。
編集はEDIUS 8です。
A video camera is SONY HDR-PJ790V.
チャンネル登録
Subscribe
http://www.youtube.com/subscription_center?add_user=mimi33333333
関連動画
Related Video
UNESCO World Heritage Site:Nakijin Castle,Okinawa世界遺産 沖縄 今帰仁城跡
https://youtu.be/cbhSlHFGOoA
Hydrangea of Hasedera,Nara 花の御寺長谷寺にアジサイを見に行く:Discover Japan
https://youtu.be/n-MidAeRFbw
みみの目
http://miminome.blogspot.jp/
煙で仕上げた今夜の逸品 -燻製-
http://kemuri-smoke.blogspot.jp/
Mimi-San's Eye(English Blog)
http://mimi-sans-eye.blogspot.jp/
みみの目ムービー
MIMINOME-MOVIE
みみさん
Mimi-san