รวยกว่า สุขกว่า จริงหรือ
GDP ถอยไป SPI มาแล้ว
อ่านบทความเต็ม
https://bit.ly/35HcrJh
ฟังคลิป #Human_Talk #ThinkingRadio
https://youtu.be/7TyTzstKXQo
กว่า 80 ปีที่โลกทั้งใบ ถูกชี้ชะตาด้วยตัวเลขมหัศจรรย์ GDP ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ มูลค่าตลาดของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตในประเทศในแต่ละปี โดยไม่คำนึงว่าผลผลิตนั้นจะผลิตขึ้นมาด้วยทรัพยากรของชาติใด GDP ถูกคิดค้นโดย Simon Kuznets นักเศรษฐศาสตร์ชาวรัสเซีย เพื่อเป็นตัวชี้วัดการเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ไม่สามารถชี้วัดคุณภาพชีวิตที่แท้จริงได้
โดยเฉพาะเศรษฐกิจไทยในปี 2020 ที่ผ่านมาถดถอยอย่างแรง -6.1% ต่ำที่สุดในรอบ 22 ปี ในขณะที่ปี 2021 นี้ สภาพัฒน์ประเมินว่าจีดีพีจะโตสูงสุดแค่ 3.5% แต่ผ่านไปไม่กี่เดือน หลายองค์กรก็มีการปรับลดลงมาเรียบร้อยจากผลกระทบของโควิดละลอกสาม ทำให้มีกระแสความไม่พอใจพอสมควร แต่สิ่งสำคัญที่คนไม่เข้าใจก็คือ จีดีพีต้องนำมาเทียบกับมาตรฐานค่าครองชีพของคนในประเทศนั้นจึงจะทำให้เห็นภาพของอำนาจการซื้ออย่างแท้จริง อย่างเช่นประเทศไทย แม้จีดีพีจะติดลบหรือเติบโตน้อยมาก แต่เมื่อเทียบกับมาตรฐานค่าครองชีพ อัตราเงินเฟ้อ ก็ถือว่าเป็นประเทศที่น่าอยู่มากที่สุดประเทศหนึ่งอันดับต้นๆ ของโลกทีเดียว
เพื่อแก้ไขปัญหาการเติบโตทางเศรษฐกิจแต่ละเลยมิติอื่นของสังคม เช่น การสูญเสียและทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ภาวะโลกร้อน ฝุ่นพิษ คุณภาพชีวิตของประชาชน องค์การสหประชาชาติจึงได้ประกาศดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าทางสังคมแบบใหม่ออกมา ตั้งแต่ปี 2015 หรือ พ.ศ. 2558 โดยได้ขอมติจากประเทศสมาชิกทั่วโลกร่วมมือกัน มีระยะเวลาเหลืออีกแค่ 10 ปี จนถึงปี 2030
ดัชนีความก้าวหน้าทางสังคม (Social Progress Index – SPI) เป็นมาตรวัดที่สะท้อนความก้าวหน้าทางสังคมที่แยกเด็ดขาดจากความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ ผลคะแนนมาจากตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมและด้านสังคม ซึ่งครอบคลุมความก้าวหน้าทางสังคมครบทั้ง 3 มิติ ได้แก่ 1) ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ (Basic Human Needs) 2) พื้นฐานของการอยู่ดีมีสุข (Foundations of Wellbeing) และ 3) โอกาส (Opportunity) ดำเนินการโดย Social Progress Imperative ซึ่งเป็นองค์กรที่ไม่แสวงหากำไรตั้งอยู่ในสหรัฐอเมริกา โดยได้รับการสนับสนุนจากดีลอยท์ มูลนิธิ Skoll และได้รับความร่วมมือจาก ไมเคิล อี. พอร์เตอร์ แห่งโรงเรียนธุรกิจ มหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด
ดัชนีดังกล่าวนี้เป็นการสำรวจทุกประเทศทั่วโลกใน 3 มิติ
1. ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ (Basic Human Needs) เช่น อาหาร น้ำ ที่อยู่อาศัย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
2. โครงสร้างพื้นฐานเพื่อความเป็นอยู่ที่ดี (Foundations of Well-Beings) เช่น การเข้าถึงการศึกษา ข้อมูลข่าวสาร สุขภาพและสิ่งแวดล้อม
3. โอกาสทางสังคม(Opportunities) สิทธิทางการเมืองและการแสดงออก สิทธิในการนับถือศาสนาและเลือกทางเดินชีวิต การยอมรับความแตกต่างทางเพศ เชื้อชาติ ศาสนา ระบบความคุ้มครองทางสังคม และความก้าวหน้าทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษาขึ้นไป
UN SDG Goal 2030 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 ข้อ ได้แก่
1: ขจัดความยากจน
2: ขจัดความหิวโหย
3: การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
4: การศึกษาที่เท่าเทียม
5: ความเท่าเทียมทางเพศ
6: การจัดการน้ำและสุขาภิบาล
7: พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้
8: การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
9: อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน
10: ลดความเหลื่อมล้ำ
11: เมืองและถิ่นฐานมนุษย์อย่างยั่งยืน
12: แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
13: การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
14: การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล
15: การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก
16: สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก
17: ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ทั้งนี้ การจัดอันดับ SPI (Social Progress Index) ในปี 2563 ที่ผ่านมา ประเทศไทยจัดอยู่ในลำดับที่ 79 ของโลกจากที่สำรวจทั้งหมด 163 ประเทศ ได้คะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 70.72 ซึ่งเพิ่มสูงขึ้นจาก 67.47 ในปีที่ผ่านมา เมื่อเปรียบเทียบกับเพื่อนบ้านในอาเซียน เราตามหลังสิงคโปร์ (ลำดับที่ 29) และมาเลเซีย (ลำดับที่ 48) แต่นำหน้าอินโดนีเซีย (ลำดับที่ 84) เวียดนาม (ลำดับที่ 88) ฟิลิปปินส์ (ลำดับที่ 98) กัมพูชา (ลำดับที่ 118) เมียนมาร์ (ลำดับที่ 120) และ ลาว (ลำดับที่ 133) ส่วนประเทศที่มีความก้าวหน้าทางสังคมในระดับสูงสุดของโลก 5 ประเทศแรกเรียงตามลำดับ ได้แก่ นอร์เวย์ เดนมาร์ก ฟินแลนด์ นิวซีแลนด์ และสวีเดน
เมื่อวิคราะห์องค์ประกอบด้านต่างๆ ที่ประเทศไทยทำคะแนนได้ดี 5 ลำดับแรกตามลำดับ ได้แก่ ด้านที่อยู่อาศัย (Shelter) โภชนาการและการแพทย์ขั้นพื้นฐาน (Nutrition and Basic Medical Care) น้ำและสุขาภิบาล (Water and Sanitation) การเข้าถึงความรู้ขั้นพื้นฐาน (Access to Basic Knowledge) และคุณภาพสิ่งแวดล้อม (Environmental Quality) อย่างไรก็ตาม องค์ประกอบที่ได้คะแนนน้อยและอาจจะต้องพิจารณาปรับปรุงต่อไป ได้แก่ ความครอบคลุมและการมีส่วนร่วม (Inclusiveness) สิทธิส่วนบุคคล (Personal Rights) ความปลอดภัยของบุคคล (Personal Safety) ทางเลือกและเสรีภาพส่วนบุคคล (Personal Freedom and Choice) และ การเข้าถึงการศึกษาขั้นสูง (Access to Advanced Education)
สิ่งที่น่าภาคภูมิใจ คือ ประเทศไทยเรามีความได้เปรียบในการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก เพราะเราได้น้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระราชทานตั้งแต่พ.ศ.2542 โดยนำหลักการ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน บนพื้นฐานความรู้คู่คุณธรรม มาประยุกต์ใช้ ซึ่งไม่เพียงเป็นประโยชน์ต่อประเทศไทย แต่เป็นประโยชน์ต่อสังคมโลกด้วย
รางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์ (อังกฤษ: UNDP Human Development Lifetime Achievement Award) เป็นรางวัลเกียรติยศด้านการพัฒนาของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ โดยจะมอบแก่ National Human Development Report ที่มีผลงานดีเด่นทุก 2 ปี ซึ่งแบ่งไว้เป็น 6 ประเภท โดยรางวัลเกียรติยศที่ได้ทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เป็นความคิดริเริ่มของสำนักเลขาธิการสหประชาชาติ ซึ่งเป็นกรณีพิเศษที่มอบแก่บุคคลอันเป็นรางวัลประเภท Life-long achievement ที่ริเริ่มขึ้นใหม่ โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เป็นพระองค์แรกที่ได้รับรางวัลดังกล่าว[1][2]
ตัวรางวัลเป็นรูปพานทรงกลมทำด้วยเงินบริสุทธิ์ ด้านในของพานขัดมันผิวเรียบ ส่วนด้านนอกผิวมีลักษณะเป็นคลื่นคล้ายสายน้ำ ตั้งอยู่บนฐานที่ทำจากไม้สัก มีแผ่นป้ายคำจารึกที่ฐานไม้มีข้อความว่า 'To His Majesty King Bhumibol Adulyadej in Recognition of Lifetime Achievement in Human Development May 2006' เพื่อเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี โดยผู้คัดเลือกรูปแบบของรางวัลตั้งใจให้รางวัลเป็นรูปพานทรงกลม เพื่อสื่อความหมายถึงภาชนะที่สามารถใช้รองรับน้ำได้ เช่นเดียวกับผิวนอกของพาน ทำให้มองคล้ายสายน้ำ เนื่องจากเล็งเห็นว่าพระราชกรณียกิจด้านการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ส่วนมากเกี่ยวข้องกับน้ำและการจัดการทรัพยากรน้ำ เป็นประเด็นพื้นฐานที่สำคัญที่สุดประเด็นหนึ่งในการพัฒนา จึงสมควรแก่การยกย่องเฉลิมพระเกียรติในพระปรีชาสามารถในด้านนี้เป็นกรณีพิเศษ
ดังนั้น แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือที่มาและกระบวนการที่จะนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้ง 17 ข้อ SEP = SDG (Sufficiency Economy Philosophy = Sustainable Development Goal)
หวังว่า ทุกท่านคงเห็นด้วยว่าการเติบโตทางเศรษฐกิจ GDP อย่างเดียวนั้นไม่พอ ต้องมองความสมดุลในภาพรวมอย่างที่ในหลวงรัชกาล ที่ 9 ได้ทรงมองครอบคลุมทุกมิติเสมอมา ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ชุมชนและวัฒนธรรม
รวยกว่า จึงไม่ได้หมายความว่า สุขกว่าเสมอไป
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過3,590的網紅Eiki Akiyama,也在其Youtube影片中提到,Me and my friends spent 3 days without any internet, and I have to say it was the most meaningful trip I have ever experienced. After getting detoxed ...
sdg 13 在 Jonathan Lee Facebook 的最佳解答
🍀海港青年商會主辦-可持續發展目標線上跑 2021(SDG RUN 2021)🍀 現正接受報名喇!截止報名日期至5月31日,玩法任你選擇!紀錄任你創造!里數任你儲!活動設有3大玩法﹐5大組別﹐總有一個適合你!
比賽詳情如下:
玩法1️⃣:5km
•隨心而行5公里 (不計算名次):
隨意自訂路線,於比賽期間跑畢5公里後,上載跑步數據記錄/screen cap及於起點及終點的打卡照。
🏅🏅獎項:完成獎牌+完賽Tee-shirt
•開心速爆5公里:
於比賽期間跑畢指定5公里路線後,上載Strava 跑步數據記錄及於起點及終點的打卡照。*參賽者必須上載Strava 連結,其他程式不適用。排名以經過時間(elapsed time)計算,移動時間(running time)不適用。
🏅🏅獎項:男/女子組頭3名各得精美獎座/禮品;其餘參賽者獲得完成獎牌+完賽Tee-shirt
玩法2️⃣ :10km
•精神爽利10公里 (不計算名次):
隨意自訂路線,於比賽期間跑畢10公里後,上載跑步數據記錄/screen cap及於起點及終點的打卡照。
🏅🏅獎項:完成獎牌+完賽Tee-shirt
•俾啲掙扎10公里:
於比賽期間跑畢指定10公里路線後,上載Strava 跑步數據記錄及於起點及終點的打卡照。*參賽者必須上載Strava 連結,其他程式不適用。排名以經過時間(elapsed time)計算,移動時間(running time)不適用。
🏅🏅獎項:男/女子組頭3名各得精美獎座/禮品;其餘參賽者獲得完成獎牌+完賽Tee-shirt
玩法3️⃣:最多里數挑戰
•永不放棄儲爆里:
隨意自訂路線,於比賽期間累積跑步里數後,上載Strava 跑步數據記錄及其中兩次打卡照。只計算平均配速10min/km 或以上的記錄。
🏅🏅獎項:男/女子組最多總距離的頭3名各得精美獎座/禮品;其餘參賽者獲得完成獎牌+完賽Tee-shirt
除了比賽獎項﹐活動更另外設有3個大奬,其中一個獎項更鼓勵參加者積極地參與並能夠充份地演繹到SDG的理念或元素。究竟呢3個大獎玩法係點?請留意海港青年商會Facebook post, 會為大家詳盡講解玩法!!
更多詳細資訊:
https://www.facebook.com/hjcsdg/
報名連結如下:
https://forms.gle/8saLSuyJMuPTcLxj6
🏆SDG Run,CHILL級Fun,CHILL級Fun 🏆
📆截止報名日期: 5月31日
📆活動日期: 即日至6月13日
☎️查詢:
籌委會主席 林煒善 (Eric) +852 61586308
註冊及贊助主委 趙莊蘭 (Aimee) +852 5593 2699
副會長 鄭遵義 (Peter) +852 6800 4496
#sdgrun2021 #CHILL級RUNCHILL級FUN #sustainlablecitiesandcommunities #sdggoal #420startregistration #gamestart #424openingceremony
#可持續發展目標線上跑2021 #CHILL級RUNCHILL級FUN #可持續城市和社區 #可持續發展目標 #4月24日 #比賽日開始 #開幕禮
#JCIharbour #海港青年商會 @ Hong Kong
sdg 13 在 CSR在天下 Facebook 的精選貼文
奧斯卡頒獎剛結束,今年首次有韓國演員獲得個人獎項,也是繼 #寄生上流 後,連續第2年韓國電影 在奧斯卡上大放異彩。
73歲韓國演員尹汝貞(Yuh-jung Youn)以「夢想之地」(Minari)獲頒最佳女配角獎。同時,她也成為自1985年吳漢以 #殺戮戰場 獲頒最佳男配角獎以來,首位贏得奧斯卡小金人的亞洲演員。
2021 奧斯卡 國寶演員尹汝貞奪奧斯卡最佳女配角 韓流連2年放異彩 :https://bit.ly/3t1KmG5
尹汝貞在得獎感言時向自己的孩子們感性喊話,「想知道為何媽媽要工作這麼辛苦嗎?」隨後舉起奧斯卡獎座高喊「這就是答案」,引來全場鼓掌聲。
許多女性因為有了孩子、家庭,不得不放棄夢想而選擇當一個稱職的媽媽,但是卻壓縮了實踐自我的機會與空間。然而女力崛起,追求夢想沒有性別之分。
回溯SDGs永續閱讀書單,SDG目標5 是實現性別平等,並賦予婦女權力。推薦2015諾貝爾文學獎系列作品《戰爭沒有女人的臉:169個被掩蓋的女性聲音》。
作者以文字記錄與男性並肩作戰的女性——不只是站上戰場的廝殺、髒污與血汗,還有她們擁有的青春、生活和初戀。
—
未來城市FutureCityX CSR在天下X Readmoo讀墨電子書邀請大家一起 #曬出我的永續生活 ,只要完成兩步驟即可抽獎!
更多活動資訊請詳閱: https://bit.ly/3sNUNN8
另外IG還有賓果遊戲活動,請加入
未來城市官方IG:https://bit.ly/32FxkDf
CSR在天官方IG: https://bit.ly/2QRciyI
一起 #推薦我的永續書單 !
#聯合國永續發展目標
#2030永續發展目標
#未來城市 #CSR在天下
#2021地球呼吸行動
#SDGs行動代號
#SDGs
sdg 13 在 Eiki Akiyama Youtube 的最佳貼文
Me and my friends spent 3 days without any internet, and I have to say it was the most meaningful trip I have ever experienced. After getting detoxed from the digital world, it was evident that more people should move towards nature and spend more time offline. This whole experience made me appreciate the power of nature, and how we need to consider protecting it too. We as individuals have to co-exist with nature.
Thank you for watching! If you want to learn more about my travels, check out my other socials!
Instagram - https://www.instagram.com/eiki_akiyama/
Other Videos:
Rediscover Japan - A different side of Japan
https://youtu.be/8q4JoAivW-I
Against the Waves - A story behind Kaiki Yamanaka (A Surfer's Documentary)
https://youtu.be/066L83m4bi8
Slow Down, you're in the Philippines - cinematic video
https://youtu.be/HiMDBRoedis
To Let Go Sometimes - Hong Kong (cinematic travel video)
https://youtu.be/CNS1WYAsgDU
Playlist:
My Films - https://www.youtube.com/playlist?list=PLZ1-bB6mB3FG7zcNowGQRYfN0xuSkyTXL
Cinematic Vlogs - https://www.youtube.com/playlist?list=PLZ1-bB6mB3FGEZoro_0WbJ7_LTQENegZC
Premier Pro & After Effects Tutorials - https://www.youtube.com/playlist?list=PLZ1-bB6mB3FEe1ggJVpKM1vbRAAlZJb8d
Camera Gears - https://www.youtube.com/playlist?list=PLZ1-bB6mB3FFMus10Bkl5j2gfkEQK4yDR
About Myself:
I guess I'm a filmmaker, adventure photographer, storyteller, and content creator...
I'm based in Tokyo, doing freelance video work for both Japanese and international clients.
My interest for video grew when I first went backpacking on my own. In the beginning it was just for fun, but I slowly found myself loving to express through visuals.
tag:
#sustainability #internet #stress #digital #detox #documentary #nature #sdg
sdg 13 在 ヒコボン/ohiko2000 Youtube 的最讚貼文
2013年8月3日(土)、お台場で開催されているSUBARU体感!スバル!ワクワクパーク2013にて。
山野哲也選手(GTドライバー)、佐々木孝太選手(GTドライバー)、新井敏弘選手(ラリードライバー)によるトークショーです。
雨の日の運転は気をつけるべし。
sdg 13 在 Sustainable Development Goal 13 - Climate action - YouTube 的推薦與評價
... <看更多>